Page 63 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 63
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับก ารวัด 6-53
เร่อื งท่ี 6.4.1 แนวคิดเกยี่ วก ับก ารวัดปริมาตร
ปริมาตรเป็นแ นวคิดเกี่ยวกับก ารว ัดบ ริเวณ (region) ของรูปท รง เช่นเดียวก ับพ ื้นที่ซึ่งเป็นแ นวคิด
เกี่ยวกับการว ัดบริเวณข องร ะนาบ
(1) (2) (3) (4) (5)
ภาพท ่ี 6.19 รปู ทรงชนิดต่างๆ
ภาพที่ 6.19 เป็นภาพของวัตถุที่มีรูปทรงทั้งสิ้นจึงมีปริมาตรให้วัดได้ ถ้าพิจารณาดูลักษณะของ
ร ูปทรงแล้วจะเห็นได้ว ่า ภาพ (2), (4) และ (5) เป็นร ูปท รงปิด โดยภ าพ (4) และ (5) มีลักษณะต ัน ส่วนภาพ (2)
มีล ักษณะก ลวง การว ัดบ ริเวณข องร ูปท รงเหล่าน ี้เรียกว ่าการห าป ริมาตร ส่วนภ าพ (1) และ (3) เป็นร ูปท รงเปิด
การวัดบริเวณของร ูปทรงเปิดเหล่านี้เป็นการห าปริมาตรเช่นเดียวกันแ ต่ม ีชื่อเรียกว ่า การห าความจุ
การวัดปริมาตรนอกจากจะอยู่ในรูปของการหาปริมาตรของวัตถุและการหาความจุดังกล่าวข้างต้น
แล้ว ยังอ ยู่ในรูปของก ารหาป ริมาตรข องสิ่งของซึ่งได้แก่ ของเหลวและข องอื่นๆ ที่ต วงได้
การตวงเป็นการวัดปริมาตรของสิ่งของหรือความจุของภาชนะ โดยจะต้องวัดทั้ง 3 มิติ คือ ความ
กว้าง ความยาว และค วามส ูงห รือค วามล ึก การตวงเพื่อหาปริมาตรข องส ิ่งของ มี 2 ลักษณะ คือ การตวงข อง
แห้ง และก ารตวงข องเหลว
การบอกจำ�นวนส ิ่งของต ่างๆ เรานับเป็นจำ�นวนช ิ้น อัน ตัว เม็ด ฯลฯ แต่ถ ้าม ีเป็นจ ำ�น วน มากๆ เช่น
เมล็ดข้าว ถั่ว เราใช้ว ิธีต วงใส่ในภ าชนะ เช่น ชาม กระบุง ถัง มาตราต วงข้าวเปลือกข องไทยเราในส มัยโบราณ
ใช้ทะนาน ซึ่งท ำ�จ ากกะลาม ะพร้าวเป็นห น่วย เริ่มต้นค ือ 25 ทะนาน เป็น 1 สัด และ 40 สัด เป็น 1 บั้น ใน
ปัจจุบันคิด 20 ทะนาน เป็น 1 ถัง 50 ถัง เป็น 1 บั้น ดังนั้นเมื่อคิดถึงบั้นแล้วก็จะได้ความจ ุ 1,000 ทะนาน
เท่าก ัน ข้าว 2 บั้นเท่ากับข ้าว 1 เกวียน ฉะนั้นข ้าว 1 เกวียนจ ึงม ี 100 ถัง