Page 59 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 59
การจัดป ระสบการณ์การเรียนร ู้เกี่ยวกับการวัด 6-49
A
ca
BD
b
C
ภาพที่ 6.17 รปู สี่เหลยี่ มด ้านไม่เทา่ ABCD
พื้นที่ร ูปส ี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า ABCD = พื้นที่ร ูปส ามเหลี่ยม ABD + พื้นที่รูปส ามเหลี่ยม BCD
= 12 × a × c + 21 × b × c
= 21 × c(a + b)
ครูควรจัดประสบการณ์ให้นักเรียนได้สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่าในหลายๆ ลักษณะ และใช้เส้น
ทแยงม ุมต ่างเส้นก ันเป็นฐ านข องร ูปส ามเหลี่ยม แล้วใช้ห ลักก ารเดียวกันในก ารห าพ ื้นที่ ซึ่งจ ะได้ผ ลในท ำ�นอง
เดียวกัน จึงสรุปได้ว่า
พื้นทร่ี ปู ส ีเ่ หลีย่ มดา้ นไมเ่ ทา่ = 21 × ความยาวของเส้นท แยงมมุ × ผลบ วกข องความย าวข องเสน้ ก ่ิง
การหาพน้ื ทข่ี องร ปู วงกลม
การห าพ ืน้ ทขี่ องร ปู ว งกลมส ามารถท ำ�ไดโ้ ดยใชว้ ธิ กี ารท ดลองเชน่ เดยี วก บั ก ารห าพ ืน้ ทขี่ องร ปู ส ีเ่ หลีย่ ม
ส่วนก ารใช้ส ูตรค ำ�นวณสามารถท ำ�ได้ดังนี้
ตัดก ระดาษร ูปว งกลมม าห นึ่งร ูป แบ่งอ อกเป็น 16 ส่วนเท่าๆ กัน แรเงาห รือร ะบายส ีไว้ค รึ่งห นึ่ง แล้ว
ตัดแต่ละส่วนหรือที่เรียกว่าเซกเตอร์ (sector) นำ�ม าวางเรียงสลับกันระหว่างส่วนที่แรเงาหรือระบายสีกับ
ส่วนที่ไม่ได้แรเงาหรือระบายสี จะปรากฏเป็นรูปที่ใกล้เคียงกับรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ยิ่งใช้การแบ่งส่วนให้
ละเอียดมากขึ้นเท่าใดก็จะยิ่งได้รูปที่ใกล้เคียงกับรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมากยิ่งขึ้นเท่านั้น เพราะฐานของ
แต่ละเซกเตอร์จะยิ่งโค้งน้อยลงจนเกือบเป็นเส้นตรง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่ได้นี้มีความยาวของด้านเป็น
ครึ่งหนึ่งของความยาวของเส้นรอบวง และมีความยาวของส่วนสูงเท่ากับความยาวของรัศมีของรูปวงกลม
ดังแ สดงในภ าพที่ 6.18