Page 67 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 67
การจัดป ระสบการณ์ก ารเรียนรู้เกี่ยวก ับก ารว ัด 6-57
(1) (2)
ภาพที่ 6.20 ระดับของน ้าํ ในภ าชนะท ม่ี ขี นาดต ่างกนั
ถ้าในกรณีที่ 2 นักเรียนไม่สามารถยอมรับได้ว่านํ้ามีปริมาณเท่ากัน แสดงว่านักเรียนยังไม่มีความ
สามารถในการอ นุรักษ์ปริมาตร คือยังย อมรับแ ต่ส ิ่งที่ต ามอ งเห็นค ือน ํ้าในแ ก้วใบหนึ่งแ ลด ูม ากกว่า
การท ดลองอีกการท ดลองหนึ่งเกี่ยวกับก ารอนุรักษ์ป ริมาตรท ำ�ได้ดังนี้ นำ�แ ท่งไม้ร ูปสี่เหลี่ยมจ ัตุรัส
มาว างเรียงต ่อก ันให้เป็นร ูปร ่างด ังแ สดงในภ าพท ี่ 6.21 (1) แล้วอ ภิปรายซ ักถ ามน ักเรียนเกี่ยวก ับค วามเท่าก ัน
เมื่อน ำ�แ ท่งไม้วางเรียงต่อกันให้มีร ูปร ่างต ่างไปจากเดิม ดังแสดงในภ าพท ี่ 6.21 (2), 6.21 (3) และ 6.21 (4)
(1) (2) (3) (4)
ภาพที่ 6.21 การเรียงแท่งไมเ้ ป็นร ูปรา่ งต่างๆ
นักเรียนที่มีความสามารถในการอนุรักษ์ปริมาตร คือนักเรียนที่สามารถตอบได้ว่า ไม่ว่าแท่งไม้จะ
เรียงอ ยู่ในรูปร ่างล ักษณะใดก็ตาม ขนาดก ็ยังคงเท่ากันเพราะใช้จำ�นวนแท่งไม้เท่าเดิม
2. เนื่องจากก ารเปรียบเทยี บเป็นพ ื้นฐ านข องก ารว ัด นกั เรยี นค วรไดม้ ปี ระสบการณใ์ นก ารนำ�ส ิง่ ของ
ซึ่งมีลักษณะค ล้ายกันม าเปรียบเทียบก ันโดยตรง เพื่อว างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับความแตกต่างกันข อง
ปริมาตร เช่น เปรียบเทียบค วามจ ขุ องข วดน ํ้าอ ัดลมข นาดใหญก่ ับข นาดเล็ก เปรียบเทียบข นาดข องล ูกเทนนิส
กับลูกปิงปอง เป็นต้น การเปรียบเทียบควรให้ครอบคลุมแนวคิดทั้งสามอย่างคือ ใหญ่กว่ากัน เล็กกว่ากัน
และเท่ากัน และควรค รอบคลุมก ารเรียงล ำ�ดับด ้วย
3. การส อนป ริมาตรค วรพ ัฒนาค วามเข้าใจเกี่ยวก ับค วามห มายข องป ริมาตรในแ งข่ องก ารก ินเนื้อที่
ของว ัตถุโดยอ าศัยก ารท ดลอง เช่น ให้น ักเรียนห ยิบห นังสือเล่มเล็กแ ละเล่มใหญ่ใส่ล งในก ระเป๋าห นังสือ เพื่อ
ดูว่าหนังสือเล่มใดกินเนื้อที่มากกว่ากัน หรือนำ�ข องขนาดต่างๆ กันใส่ลงในแก้วนํ้า แล้วสังเกตดูระดับนํ้าที่
เพิ่มขึ้น การทดลองน ี้จ ะช่วยให้นักเรียนเห็นได้ช ัดเจนว ่า ยิ่งใส่ของชิ้นใหญ่มากเท่าใดลงไป ระดับนํ้าก็จ ะยิ่ง
สูงม ากข ึ้นเท่านั้น