Page 21 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 21

กิจกรรมส่งเสริมทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 9-11

   สถานการณ์  ทำ�ความเข้าใจปัญหา
ตรวจสอบผล                      วางแผนแก้ปัญหา

              ดำ�เนินการตามแผน

               ภาพที่ 9.1 กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัตตามแนวคดิ ของวิลสนั และคณะ

       เราสามารถอธิบายแผนภูมิข้างต้นได้ดังนี้
       เมื่อเผชิญสถานการณ์ที่เป็นปัญหา นักเรียนจะต้องเริ่มทำ�ความเข้าใจกับปัญหาก่อน หลังจากนั้น
วางแผนแกป้ ญั หา ระบคุ วามรูท้ างคณติ ศาสตรท์ ีเ่ กีย่ วขอ้ งพรอ้ มทัง้ ก�ำ หนดกลยทุ ธท์ ีเ่ หมาะสมในการแกป้ ญั หา
นั้น แล้วดำ�เนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ จนกระทั่งสามารถหาคำ�ตอบได้ สุดท้ายพิจารณาความถูกต้อง
ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบที่ได้ และกลยุทธ์ที่ใช้แก้ปัญหา
       สำ�หรับทิศทางของลูกศรนั้น เป็นการแสดงการพิจารณาหรือตัดสินใจที่จะเคลื่อนการกระทำ�จาก
ขั้นตอนหนึ่งไปสู่อีกขั้นตอนหนึ่ง หรือพิจารณาย้อนกลับไปขั้นตอนก่อนหน้าเมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัย เช่น
เมื่อนักเรียนทำ�การแก้ปัญหาในขั้นที่ 1 คือ ขั้นทำ�ความเข้าใจปัญหา และคิดว่ามีความเข้าใจปัญหาดีแล้ว
ก็เคลื่อนการกระทำ�ไปสู่ขั้นวางแผนแก้ปัญหา หรือในขณะที่นักเรียนดำ�เนินการตามแผนที่วางไว้ในขั้นที่ 3
แต่ไม่สามารถดำ�เนินการต่อไปได้ นักเรียนก็อาจย้อนกลับไปเริ่มวางแผนใหม่ในขั้นที่ 2 หรือทำ�ความเข้าใจ
ปัญหาใหม่ในขั้นที่ 1 ก็ได้
       เนือ่ งจากกระบวนการแกป้ ญั หาตามแนวคดิ ของวลิ สนั และคณะเปน็ การด�ำ เนนิ การทีเ่ กดิ ขึน้ ไดใ้ นการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริง ดังนั้น นักเรียนจึงไม่จำ�เป็นต้องเริ่มต้นใหม่ในขั้นทำ�ความเข้าใจปัญหาเสมอไป เรียก
กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของวิลสันและคณะว่าเป็น กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัต (dynamic
problem solving process)

กลยุทธใ์ นการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

       ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ นอกจากนักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐานที่เพียงพอและเข้าใจ
กระบวนการแก้ปัญหาดีแล้ว การเลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุดก็เป็น
อีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยในการแก้ปัญหา ถ้านักเรียนมีความคุ้นเคยกับกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เหมาะสม
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26