Page 24 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 24

9-14 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

       11.	การใช้เหตุผลทางอ้อม เป็นกลยุทธ์ที่ต้องการให้นักเรียนแสดงหรืออธิบายข้อความหรือข้อมูล
ที่ปรากฏอยู่ในปัญหานั้นว่าเป็นจริง โดยการสมมติว่าข้อความที่ต้องการแสดงนั้นเป็นเท็จ แล้วหาข้อขัดแย้ง
กลยุทธ์นี้มักใช้กับการแก้ปัญหาที่ยากแก่การแก้ปัญหาโดยตรง และง่ายที่จะหาข้อขัดแย้งเมื่อกำ�หนดให้
ข้อความที่จะแสดงเป็นเท็จ

       จากแนวคดิ ขา้ งตน้ แมว้ า่ จะมหี ลากหลายกลยทุ ธใ์ นการแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ แตไ่ มม่ กี ลยทุ ธใ์ ด
ทดี่ ที ีส่ ดุ ทงั้ นี้ ขนึ้ อยูก่ บั สถานการณป์ ญั หาทีเ่ ผชญิ อยู่ ปญั หาทางคณติ ศาสตรบ์ างปญั หาสามารถแกไ้ ดม้ ากกวา่
หนึง่ กลยทุ ธห์ รอื ใชม้ ากกวา่ หนึง่ กลยทุ ธใ์ นการแกป้ ญั หา เพือ่ ใหก้ ารแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรม์ ปี ระสทิ ธภิ าพ
นักเรียนควรจะต้องมีความรู้คณิตศาสตร์หรือแหล่งความรู้อื่นๆ ที่สามารถสืบค้นได้อย่างเพียงพอ อีกทั้ง
ต้องรู้ขั้นตอนและกระบวนการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง รู้จักเลือกใช้กลยุทธ์อย่างเหมาะสมและหลากหลาย
ตลอดจนควรมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างเพียงพอด้วย

องค์ประกอบทีส่ ่งเสริมความสามารถในการแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์

       ความสามารถในการแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรต์ อ้ งอาศยั องคป์ ระกอบหลายอยา่ งเพือ่ ชว่ ยใหก้ ารแก้
ปัญหาประสบความสำ�เร็จ องค์ประกอบต่างๆ ที่มีส่วนช่วยในการคิดแก้ปัญหาควรได้รับการสอนและฝึกฝน
พัฒนา องค์ประกอบที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ จำ�แนกได้ 2 ประการ (สมเดช
บุญประจักษ์ 2543: 26) ดังนี้

       1.	 องค์ประกอบที่เกี่ยวกับตัวผู้แก้ปัญหา ประกอบด้วย
            (1)	 ความรู้ ความคิดและประสบการณ์
            (2)	 ระดับสติปัญญาและความสามารถ
            (3)	 การรับรู้และการสังเคราะห์ความคิด
            (4)	 ทักษะและความรู้พื้นฐานต่างๆ เช่น ทักษะการอ่าน การดำ�เนินการและทักษะทาง

คณิตศาสตร์
            (5)	 ความรู้สึก ความต้องการที่จะแก้ปัญหา ความเชื่อและเจตคติต่อการแก้ปัญหาทาง

คณิตศาสตร์
            (6)	 ความมั่นใจในตนเองที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

       2.	 องค์ประกอบเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย
            (1)	 บรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
            (2)	 วิธีการพัฒนาที่ส่งเสริมให้เกิดความสามารถในการแก้ปัญหา
            (3)	 มีเวลาพัฒนาอย่างเพียงพอและได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
            (4)	 สถานการณ์ปัญหาที่นำ�มาเป็นสื่อในการพัฒนา เป็นปัญหาที่ดี ก่อให้เกิดการเรียนรู้และ

พัฒนาทักษะต่างๆ เป็นปัญหาที่น่าสนใจ ท้าทายความสามารถและเหมาะสมกับวัย
       นอกจากนี้ สิริพร ทิพย์คง (2544: 106–107) กล่าวว่า องค์ประกอบที่ส่งเสริมความสามารถในการ

แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ได้แก่
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29