Page 28 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 28

9-18 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่าง ในการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ แก้วเกล้าตอ้ งการแกป้ ญั หาเกยี่ วกับจ�ำ นวนในหลักหน่วยของ	
	 33415 	 เธอจึงทำ�การทดลองและสังเกต 	 พบว่า
   31	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	
	  32	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            3

	  33	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            9

	  34	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            7

	  35	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            1

	  36	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            3

	  37	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            9

	  38	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            7

	  39	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	            1

	  310	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	           3

	  311	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	           9

	  312	 มีจำ�นวนในหลักหน่วยเป็น 	           7

	                                           1

และจากการทดลองและสังเกตหลายๆ ครั้ง ก็พบว่า
    ถ้าเลขชี้กำ�ลังหารด้วย 4 แล้วเหลือเศษ 1	 จำ�นวนในหลักหน่วยจะเป็น 3
    ถ้าเลขชี้กำ�ลังหารด้วย 4 แล้วเหลือเศษ 2	 จำ�นวนในหลักหน่วยจะเป็น 9
    ถ้าเลขชี้กำ�ลังหารด้วย 4 แล้วเหลือเศษ 3	 จำ�นวนในหลักหน่วยจะเป็น 7
    ถ้าเลขชี้กำ�ลังหารด้วย 4 แล้วเหลือเศษ 0	 จำ�นวนในหลักหน่วยจะเป็น 1

เนื่องจากเลขชี้กำ�ลังที่ต้องการหา คือ 3415  ซึ่งหารด้วย 4  แล้วเหลือเศษ 3
ดังนั้น แก้วเกล้าจึงสรุปว่า จำ�นวนในหลักหน่วยของ 33415 คือ 7

       ถ้าต้องการยืนยันว่าข้อความคาดการณ์ที่ได้จากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นจริง ก็ต้องสืบเสาะ
ค้นหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนให้มากพอหรือแสดงเหตุผลที่ทำ�ให้ยอมรับได้ว่าข้อความคาดการณ์นั้นเป็นจริง
ในทางคณิตศาสตร์เรายืนยันว่าข้อความคาดการณ์เป็นจริงโดยการแสดงหรือการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง
ถ้าแสดงหรือพิสูจน์ได้ว่า ข้อความคาดการณ์เป็นจริงในกรณีทั่วไป ข้อความคาดการณ์นั้นจะเป็นทฤษฎีบท
ที่สามารถนำ�ไปใช้อ้างอิงได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้าสามารถยกตัวอย่างค้านได้แม้เพียงกรณีเดียว ข้อความ
คาดการณ์นั้นจะเป็นเท็จทันที
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33