Page 80 - สารัตถะและวิทยวิธีทางสังคมศึกษา
P. 80
8-70 สารัตถะและวิทยวิธีทางสังคมศึกษา
จุดสำ�คัญของวิธีการนี้ ก็คือ งานในภาคปฏิบัติ กล่าวคือ ต้องจัดให้เหมาะสมกับโครงการ
เช่น การไปเยี่ยมสถานตรวจวัดอากาศ การไปสำ�รวจตามถนน หรือการทำ�งานในห้องทำ�งาน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
โครงการ อย่างไรก็ตาม งานที่นักเรียนทำ�ควรจะได้ให้โอกาสนักเรียนในการพัฒนาทักษะในการสังเกต การ
เก็บตัวอย่าง การตรวจวัด เช่น ในกรณีที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนํ้าเสีย การบันทึกข้อมูล เช่น ในกรณีที่ไปสังเกต
สภาพภูมิอากาศ หรือการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการจราจร นอกจากนั้น ควรจะให้นักเรียนได้รู้จักการหาข้อสรุป
มีการเสนอผลงานในรูปของรายงาน การแสดงนิทรรศการหรือการสัมมนา ทั้งนี้ เพื่อเป็นการประเมินผลงาน
ของนักเรียนด้วย
วิธีการสอนที่ใช้วิธีการแก้ปัญหานั้น ผู้สอนควรจะได้นำ�เอาวิธีการสอนต่อไปนี้ไปพิจารณาใช้
ให้เป็นประโยชน์ กล่าวคือ
(1) การบรรยาย (the lecture) วธิ กี ารนีค้ รจู ะเปน็ ผูบ้ อกสิง่ ทีค่ วรรูใ้ หแ้ กน่ กั เรยี น เปน็ การ
ใหข้ อ้ เทจ็ จรงิ เฉพาะเรือ่ งหนึง่ เรือ่ งใดทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั สิง่ แวดลอ้ ม ซึง่ อาจไดม้ าจากครหู รอื วทิ ยากรทีเ่ ชญิ มากไ็ ด้
อย่างไรก็ตาม ครูจะต้องระมัดระวังไม่ให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่ายโดยการใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ช่วย และ
ในการบรรยายแต่ละครั้งก็ไม่ควรเกิน 40 ถึง 50 นาที หลังจากนั้นก็ควรจะมีเวลาให้นักเรียนได้ถามด้วย
(2) การวเิ คราะห์สถานการณ์ (situation analysis) เป็นวิธีการที่มปี ระสิทธิภาพทีช่ ่วยให้
นักเรยี นระบตุ วั แปร หรือปัจจยั ส�ำ คญั ของสถานการณ์ทีเ่ กดิ ขึน้ เช่น ตัวแปรดา้ นความเชือ่ ค่านยิ ม หรอื ความ
คดิ เหน็ ตา่ งๆ ตอ่ สถานการณ์ วธิ กี ารนีม้ ปี ระโยชนใ์ นการสรา้ งความตระหนกั และความเขา้ ใจ โดยกระบวนการ
วิเคราะห์ เปรียบเทียบ จัดลำ�ดับความสำ�คัญ คาดคะเน และประเมินผล เป็นต้น สถานการณ์อาจถูกสร้างขึ้น
เชน่ หากนกั เรยี นเปน็ ผูจ้ ดั การโรงงานซึง่ ตอ้ งตดั สนิ ใจเลอื กใชแ้ หลง่ พลงั งานระหวา่ งพลงั งานจากถา่ นหนิ และ
พลังงานแสงอาทิตย์ หากเลือกใช้ถ่านหินจะทำ�ให้นักเรียนได้ผลผลิตตามเป้าหมาย แต่ถ่านหินเป็นทรัพยากร
ที่ใช้แล้วหมดไป และทำ�ให้เกิดมลภาวะ ส่วนพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาถูกกว่า และใช้ไม่หมด แต่เทคโนโลยี
ด้านนี้ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ และอาจทำ�ให้ได้รับผลผลิตลดลง จากสถานการณ์ดังกล่าวมีคำ�ถามว่า นักเรียน
มีทางเลือกอย่างไร และมีเกณฑ์หรือเหตุผลช่วยตัดสินใจอย่างไรบ้าง
(3) การโต้วาทีและอภิปราย (debates and panel discussions) เป็นวิธีการที่ช่วยให้
ปญั หาหรอื ประเด็นที่เปน็ ขอ้ โต้เถยี งกันแจม่ ชัดยิง่ ขึน้ ทำ�ใหน้ กั เรยี นเกิดความมั่นใจในการแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างประเด็นที่ใช้วิธีการนี้ เช่น
- ในสวนสตั ว์ เราควรขังสตั วไ์ ว้ในกรงหรอื ไม่
- เราควรหยุดการสรา้ งเข่ือนกั้นแมน่ ้ําหรือไม่
- โรงงานท่ีปลอ่ ยมลพษิ ควรถูกปิดหรือไม่
- มนษุ ย์มีสิทธ์ใิ นทรพั ยากรธรรมชาติเหนือสิ่งมีชวี ิตอื่นๆ หรือไม่
(4) การศกึ ษานอกหอ้ งเรยี น (outdoor education methods) โดยทัว่ ไปสิง่ แวดลอ้ มศกึ ษา
มักจะพยายามหลีกเลี่ยงจากการเรียนรู้ภายในห้องเรียนแบบเดิมๆ ไปสู่การทำ�กิจกรรมนอกห้องเรียน โดย
อาจเป็นการออกภาคสนาม (field trip) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ หรือเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการ
อภปิ ราย วธิ กี ารนีน้ บั วา่ เปน็ วธิ กี ารทีด่ ที ีส่ ดุ ในการท�ำ ใหน้ กั เรยี นไดร้ ูจ้ กั การสงั เกต และไดร้ บั ประสบการณจ์ รงิ