Page 38 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 38

7-28 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

      Social Constructivism ได้ร​ ับ​อิทธิพล​ส่วน​ใหญ่​มา​จาก​ผล​งานข​ อง​วี​ก็อท​สกี้ (Vygotsky’s
1978 Work) แนวคิด​นี้​เน้น​กระบวนการ​สร้าง​ความ​รู้​โดย​การ​มี​ปฏิสัมพันธ์​ใน​บริบท​ของ​สังคม​และ​
วัฒนธรรม ดัง​นั้น​การ​เรียน​รู้​แบบ​ค้น​พบ (Discovery Learning) การ​เรียน​รู้​แบบ​สืบสวน​สอบสวน
(Inquiry Learning) การ​เรียน​รู้​แบบ​ร่วม​มือ (Collaborative Learning) และ​การ​อภิปราย
(Discussion) จะ​ส่งผ​ ลต​ ่อก​ ารส​ ร้างค​ วามร​ ู้ โดย​ในก​ ระบวนการเ​รียนร​ ู้นั้น ผู้เ​รียนไ​ม่ส​ ามารถเ​รียนต​ าม​
ล�ำ พงั ไ​ด้ แตต​่ อ้ งแ​ ลกเ​ปลีย่ นเ​รยี นร​ กู​้ บั เ​พือ่ นแ​ ละค​ น้ ควา้ ห​ าความร​ จู​้ ากแ​ หลง่ เ​รยี นร​ ตู​้ า่ งๆ ทงั้ จ​ ากค​ รผ​ู ส​ู้ อน
ครอบครัว และช​ ุมชน

      นอกจาก​นี้ วี​ก็อท​สกี้​ยัง​เน้น​ความ​สำ�คัญ​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่าง​บุคคล และ​การ​ให้​ความ​ช่วย​
เหลือช​ ี้แนะ (Scaffolding) ให้ก​ ้าวหน้าจ​ ากร​ ะดับ​พัฒนาการท​ ี่​เป็น​อยู่ (Actual Development Level)
ไปถ​ ึงร​ ะดับพ​ ัฒนาการท​ ีม่​ ศี​ ักยภาพจ​ ะไ​ปถ​ ึงไ​ด้ (Potential Development Level) ซึ่งช​ ่วงห​ ่างน​ ี้ เรียกว​ ่า
Zone of Proximal Development แนวคิด​ดัง​กล่าวน​ ี้​ส่งผ​ ลต​ ่อก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​ใน​การ​จัดการ​เรียน​
การ​สอน​ที่​จะ​ต้องน​ ำ�​หน้า​ระดับพ​ ัฒนาการข​ องผ​ ู้​เรียนเ​สมอ

      ดังน​ ั้น หลักก​ าร​ที่ส​ ำ�คัญ​ของท​ ฤษฎีก​ าร​สร้างค​ วาม​รู้​ด้วย​ตนเอง (Constructivism) สามารถ​
สรุปไ​ ด้​ดังนี้

           1. 	การเ​รยี นร​ เู​้ ปน็ กร​ ะบ​ วนก​ ารเ​ชงิ ร​ กุ (Active Process) ที่ผ​ เู​้ รยี นน​ �ำ ​ขอ้ มลู ห​ รอื ค​ วามร​ ทู​้ ​ี่
ไดร​้ บั ม​ าสร​ า้ งค​ วามห​ มายด​ ว้ ยต​ นเอง ดงั น​ ัน้ ​บทบาทข​ องผ​ เู​้ รยี นจ​ งึ ไ​มไ​่ ดเ​้ ปน็ ผ​ ูร้ บั ค​ วามร​ หู​้ รอื จ​ ดจ�ำ ​ความ​
รูท้​ ีค่​ รสู​ อนใ​หแ้​ ตเ่​ป็นผ​ ูส้​ ร้างค​ วามร​ ูด้​ ้วยต​ นเอง โดยผ​ ่านก​ ระบวนการซ​ ึมซับห​ รือด​ ูดซ​ ึม (Assimilation)
และก​ ระบวนการป​ รับ​โครงสร้างท​ างป​ ัญญา (Accommodation)

           2. 	การ​เรียน​รู้ส​ ิ่ง​ใหม่ๆ ได้​มาก​น้อยเ​พียงใ​ด จะ​ขึ้น​อยู่​กับ​ประสบการณ์ห​ รือค​ วามร​ ู้เ​ดิม​
ที่ม​ ี​อยู่ หาก​ผู้​เรียน​มี​ความร​ ู้​เดิมม​ ากก​ ็​จะ​ช่วยใ​ห้เ​รียนร​ ู้ไ​ด้ม​ าก​ขึ้น​ด้วย ดังน​ ั้นก​ ารจ​ ัดป​ ระสบการณ์แ​ ละ​
การส​ ร้าง​แรงจ​ ูงใจ​ให้ผ​ ู้เ​รียนก​ ็เ​ป็น​ปัจจัยส​ ำ�คัญ​ที่ส​ ามารถส​ ่งเ​สริม​การ​เรียน​รู้​ได้

           3. 	ปฏิสัมพันธ์​ทาง​สังคม การร​ ่วมม​ ือ และก​ าร​แลกเ​ปลี่ยนค​ วามร​ ู้เ​ป็นส​ ิ่ง​สำ�คัญท​ ี่ท​ ำ�ให้​
เกิดก​ าร​เรียนร​ ู้ และจ​ ะท​ ำ�ให้ก​ าร​เรียน​รู้ซ​ ับ​ซ้อนแ​ ละ​หลากห​ ลายข​ ึ้น

           4.	 การเ​รียน​รู้ท​ ี่ม​ ีค​ วาม​หมายจ​ ะเ​กิดข​ ึ้นไ​ด้ห​ ากส​ ิ่งท​ ี่ไ​ด้เ​รียน​รู้เ​ป็นส​ ิ่งท​ ี่เ​ป็นค​ วาม​จริงแ​ ละ​
สามารถ​นำ�​ไปใ​ช้น​ อก​ห้องเรียนไ​ด้

      การป​ ระยกุ ต​ใ์ ช้ใ​น​การจ​ ัดการ​เรียนก​ าร​สอน
      ทฤษฎี​การ​สร้าง​ความ​รู้​ด้วย​ตนเอง (Constructivism) สามารถน​ ำ�​ไป​ใช้​ใน​การ​จัดการ​เรียน​
การส​ อน​ได้​ดังนี้

           1)	 บทบาทข​ องค​ รใ​ู นห​ อ้ งเรยี นท​ ีเ่​น้นใ​หผ​้ ูเ้​รยี นส​ รา้ งค​ วามร​ ดู​้ ว้ ยต​ นเอง (Constructivist
Classrooms) จะเ​ปลี่ยนจ​ ากผ​ ู้ส​ อนเ​ป็นผ​ ู้ใ​ห้​คำ�​แนะนำ� (Guides) ให้ผ​ ู้เ​รียน​เข้าใจใ​นก​ ระบวนการก​ าร​
สร้างค​ วามร​ ู้ คือ รับ​ผิด​ชอบ​ในก​ ารเ​รียนร​ ู้ด​ ้วยต​ นเอง มีอ​ ิสระใ​นค​ วาม​คิด สามารถ​ตั้ง​คำ�ถาม​ที่​กระตุ้น​
ความค​ ิดแ​ ละค​ ้นคว้าห​ าค​ ำ�​ตอบเ​พื่อแ​ ก้ไขป​ ัญหา (Brooks & Brooks, 1993: 13) และใ​นก​ รณีท​ ี่ผ​ ู้เ​รียน​
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43