Page 19 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 19

ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-9

       จะเห็นได้ว่า ภาวะผู้นำ�จะเป็นปัจจัยสำ�คัญในการบริหารงานเพื่อความสำ�เร็จ ซึ่งหากผู้บริหารได้รับ
การพฒั นาภาวะผูน้ �ำ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จะสามารถชกั จงู ใหผ้ ูอ้ ืน่ คลอ้ ยตามและปฏบิ ตั งิ านใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
ที่วางไว้ รวมทั้งตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพต่างๆ ภายในหน่วยงานเพื่อการบริหารการเปลี่ยนแปลง และ
พัฒนาองค์การที่รับผิดชอบไปสู่ความสำ�เร็จและความเป็นเลิศ

เรอื่ งท่ี 2.1.2 	 พัฒนาการของแนวคดิ และทฤษฎีเกย่ี วกบั ภาวะผนู้ ำ�

       นับเป็นเวลาที่ต่อเนื่องยาวนานที่มนุษย์เห็นความสำ�คัญของผู้นำ�  และได้เริ่มทำ�การศึกษาเกี่ยวกับ
ผู้นำ�มาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ�ตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม
จนปัจจุบันสามารถแบ่งได้เป็น 4 ยุค ดังนี้

       ยุคที่ 1 	 กลุ่มทฤษฎีลักษณะของผู้นำ�
       ยุคที่ 2 	 กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ�
       ยุคที่ 3 	 กลุ่มทฤษฎีภาวะผู้นำ�ตามสถานการณ์
       ยุคที่ 4 	 กลุ่มทฤษฎีภาวะผู้นำ�บูรณาการ
       แนวคดิ เหลา่ นี้ มคี วามเชือ่ แตกตา่ งกนั ออกไป และไดร้ บั การพฒั นาเรือ่ ยมาจนเปน็ ทีย่ อมรบั ในขณะ
ที่ปัจจุบันแนวคิดเหล่านี้ได้รับการทบทวนและมีการสร้างแนวคิดใหม่เพิ่มมากขึ้น ทำ�ให้เห็นวิวัฒนาการของ
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำ�ได้ชัดเจนและต่อเนื่อง
       ยุคที่ 1 กลุ่มทฤษฏีลักษณะผู้นำ� (ค.ศ. 1950-1960)
       ทฤษฎีลักษณะผู้นำ� (leadership traits) เริ่มขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อนักจิตวิทยาใน
กองทัพบกสหรัฐอเมริกา ได้ทำ�การศึกษาหาวิธีคัดเลือกนายทหาร การศึกษาดังกล่าวได้จุดประกายให้เกิด
ความกระตอื รือรน้ สนใจในการท�ำ วิจัยทางวิทยาศาสตร์อยา่ งจรงิ จัง ภายหลงั สงคราม นักวิจัยจึงได้เริม่ ศกึ ษา
เพื่อระบุลักษณะที่สำ�คัญๆ ของบุคคลซึ่งใช้แยกระหว่างบุคคลที่มีความเป็นผู้นำ�ที่มีประสิทธิภาพ (effective
leaders) ออกจากบุคคลที่ไม่ใช่ผู้นำ�
       ยุคที่ 2 กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมของผู้นำ� (ค.ศ. 1960-1970)
       นักวิชาการที่เห็นด้วยกับในแนวคิดนี้มีความเชื่อว่า ความสำ�เร็จของผู้นำ�ในการปฏิบัติงานมีส่วน
เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับสิ่งที่เขาทำ�มากกว่า กล่าวคือ เชื่อว่าความสำ�เร็จของผู้นำ�มาจากสิ่งที่เขาทำ�มากกว่า
ลักษณะที่เขาเป็น และเชื่อว่าลักษณะเด่นเป็นสิ่งที่ติดตัวมา เปลี่ยนแปลงได้ยากในทางตรงกันข้ามเป็นไป
ได้ง่ายกว่าที่เราจะเรียนรู้พฤติกรรมที่ทำ�ให้ผู้นำ�เหล่านั้นประสบความสำ�เร็จ งานวิจัยในระยะที่ 2 จึงมุ่งเน้น
การศึกษาพฤติกรรมผู้นำ� คำ�ถามสำ�คัญในกลุ่มนี้ คือ พฤติกรรมดีๆ สำ�หรับผู้นำ�นั้นมีอะไรบ้าง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24