Page 21 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 21

ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-11

จะประกอบด้วย ภาวะผู้นำ� 3 แบบ คือ ภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง (transformational leadership) ภาวะ
ผู้นำ�แบบแลกเปลี่ยน (transactional leadership) และภาวะผู้นำ�แบบปล่อยตามสบาย (laissez-faire
leadership) ดังนี้

       1. 	ภาวะผนู้ �ำ การเปลยี่ นแปลง เปน็ กระบวนการทผี่ นู้ �ำ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ผรู้ ว่ มงานและผตู้ าม โดยพยายาม
เปลี่ยนแปลงและพัฒนาความสามารถของผู้ร่วมงานและผู้ตามให้ไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ทำ�ให้เกิดการตระหนักรู้
ในภารกิจและวิสัยทัศน์ของกลุ่มและขององค์การ จูงใจให้ผู้ร่วมงานและผู้ตามมองเห็นประโยชน์ของกลุ่ม
องค์การหรือสังคม ซึ่งกระบวนการที่ผู้นำ�มีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงานและผู้ตามนี้จะกระทำ�โดยผ่านองค์ประกอบ
พฤติกรรมเฉพาะ 4 ประการ หรือที่เรียกว่า “4I” (Four I’s) คือ

            1.1 	การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (Idealized Influence: II) หมายถึง การที่ผู้นำ�ประพฤติ
ตัวเป็นแบบอย่างสำ�หรับผู้ตาม ผู้นำ�จะเป็นที่ยกย่อง เคารพนับถือและศรัทธา และทำ�ให้ผู้ตามเกิดความภาค
ภูมิใจ ผู้ตามจะพยายามประพฤติปฏิบัติและมีพฤติกรรมเลียนแบบผู้นำ�ของเขา คุณลักษณะของผู้นำ�จะต้อง
ค�ำ นงึ ถงึ ความตอ้ งการของผอู้ นื่ เหนอื ความตอ้ งการของตนเอง ผนู้ �ำ จะตอ้ งรว่ มเสยี่ งกบั ผตู้ าม มคี วามสมาํ่ เสมอ
ในอารมณ์ สามารถควบคุมสติอารมณ์ได้ในสถานการณ์วิกฤต เป็นผู้กระทำ�ในสิ่งที่ถูกต้อง มีคุณธรรมและ
จริยธรรมสูง หลีกเลี่ยงที่จะใช้อำ�นาจเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน ประพฤติตนเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น
มีความเฉลียวฉลาด มีสมรรถภาพ ความตั้งใจ มีความเชื่อมั่นในตนเอง แน่วแน่ในอุดมการณ์ ความเชื่อและ
ค่านิยม นอกจากนั้น ผู้นำ�จะเสริมความภาคภูมิใจ ความจงรักภักดี และความมั่นใจให้เกิดขึ้นกับผู้ตาม และ
สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับผู้ตามโดยยึดวิสัยทัศน์และจุดประสงค์ในการทำ�งานร่วมกัน

            1.2 	การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration Motivation: IM) หมายถึง การที่ผู้นำ�จูงใจให้ผู้ตาม
ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจ โดยท�ำ ใหง้ านมคี วามหมายและทา้ ทาย ผูน้ �ำ จะกระตุน้ จติ วญิ ญาณของทมี (team spirit)
แสดงออกซึ่งความกระตือรือร้น มองโลกในแง่ดี สื่อความต้องการที่ผู้นำ�ต้องการอย่างชัดเจน นอกจากนี้
ผู้นำ�ต้องแสดงหรืออุทิศตัวต่อการดำ�เนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวิสัยทัศน์ร่วมกัน แสดงความเชื่อมั่น
และแสดงให้เห็นความตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้ ช่วยให้ผู้ตามมองข้ามผลประโยชน์
ของตน เพื่อวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การ รวมทั้งพัฒนาความผูกพันของตนต่อเป้าหมายระยะยาว
นอกจากนี้ ยังสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดขึ้นโดยผ่านการคำ�นึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และการกระตุ้นทาง
ปัญญา ทำ�ให้ผู้ตามรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า และกระตุ้นให้ผู้ตามสามารถจัดการกับปัญหาที่ตนเองเผชิญได้

            1.3 	การกระตุน้ ทางปญั ญา (Intellectual Stimulation: IS) หมายถงึ การทีผ่ ูน้ �ำ กระตุน้ ใหผ้ ูต้ าม
ได้ตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน โดยกระตุ้นให้ผู้ตามคิดหาแนวทางใหม่ๆ และสร้างสรรค์
มาแก้ปัญหาในหน่วยงาน การเปลี่ยนกรอบ (reframing) ในการมองปัญหา และการเผชิญกับสถานการณ์
เก่าๆ ด้วยวิถีทางแบบใหม่ๆ มีการจูงใจและสนับสนุนความคิดริเริ่มในการพิจารณาปัญหาและการหาคำ�ตอบ
ของปัญหา ให้กำ�ลังใจผู้ตามให้พยายามหาทางแก้ปัญหาด้วยวิธีใหม่ๆ กระตุ้นให้ผู้ตามแสดงความคิด และ
เหตุผล และไม่วิจารณ์ความคิดของผู้ตาม ทำ�ให้ผู้ตามรู้สึกว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่ท้าทาย และเป็นโอกาส
ที่ดีที่จะแก้ปัญหาร่วมกัน โดยการสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้ตามว่าปัญหาทุกอย่างต้องมีวิธีแก้ไข และการแก้ไข
ได้นั้น จะต้องเกิดจากความร่วมมือร่วมใจในการแก้ปัญหาของผู้ร่วมงานทุกคน ผู้ตามจะได้รับการกระตุ้นให้
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26