Page 29 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 29

ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-19

       โกลแมนและคณะ (Goleman et al., 2002) ได้กล่าวถึงความสำ�คัญของความฉลาดทางอารมณ์ที่
มีต่อความมีประสิทธิผลของผู้นำ� โดยแบ่งออกเป็น 2 ด้านที่สำ�คัญ คือ สมรรถนะเกี่ยวกับตนเอง (personal
competence) และสมรรถนะที่เกี่ยวกับสังคม (social competence) ดังนี้

                 ตารางที่ 2.2 ความฉลาดทางอารมณท์ ีม่ ตี ่อความมปี ระสิทธผิ ลของผนู้ ำ�

1. สมรรถนะทเ่ี กย่ี วกบั ตนเอง (personal competence) 2. สมรรถนะที่เกี่ยวกับสังคม (social competence)

1.1	 ด ้านความสามารถตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง    2.1 	ด้านความตระหนักรู้ทางสังคม
	 (self-awareness)                            	 (social awareness)
	 1.1.1 	สมรรถนะในการตระหนักรู้ตนเอง          	 2.1.1 	สมรรถนะในการเข้าใจผู้อื่น (empathy)
	 	 (emotional self-awareness)                	 2.1.2 	สมรรถนะความตระหนักรู้ด้านองค์การ
	 1.1.2 	สมรรถนะในการประเมินตนเองได้ถูกต้อง   	 	 (organizational awareness)
	 	 (accurate self-assessment)                	 2.1.3 สมรรถนะด้านการบริการ (service)
	 1.1.3 	สมรรถนะด้านความมั่นใจ
	 	 (self-confidence)

1.2 	ด้านความสามารถบริหารจัดการตนเอง          2.2 	ด้านความสามารถบริหารจัดการความสัมพันธ์
	 (self-management)                           	 (relationship management)
	 1.2.1 	ส มรรถนะในการควบคุมอารมณ์ตนเอง      	 2.2.1 	สมรรถนะในการสร้างแรงดลใจ
	 	 (emotional self-control)                  	 	 (inspiration)
	 1.2.2 	สมรรถนะด้านความโปร่งใส               	 2.2.2 	สมรรถนะด้านอำ�นาจอิทธิพล (influence)
	 	 (transparency)                            	 2.2.3 	สมรรถนะในการพัฒนาผู้อื่น
	 1.2.3	 สมรรถนะด้านความสามารถปรับตัว         	 	 (developing others)
	 	 (adaptability)                            	 2.2.4	 สมรรถนะการเป็นตัวเร่งการเปลี่ยนแปลง
	 1.2.4 	สมรรถนะด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์            	 	 (change catalyst)
	 	 (achievement)                             	 2.2.5 	สมรรถนะในการบริหารความขัดแย้ง
	 1.2.5 	สมรรถนะด้านริเริ่ม (initiative)      	 	 (conflict management)
	 1.2.6 	สมรรถนะการมองโลกในแงด่ ี (optimism)  	 2.2.6	 สมรรถนะในการสร้างทีมงานและ
                                              	 	 ความร่วมมือ (teamwork and
                                              	 	 collaboration)

ที่มา: 	ป รับจาก D. Goleman, et  al. (2002). The new leaders: transforming the art of leadership into the science of
     results. UK: Time WarnerBooks, p. 39.
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34