Page 38 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 38

2-28 การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพสำ�หรับผู้นำ�ทางการศึกษา

       การจดั ท�ำ แผนนัน้ จะตอ้ งมกี ารประเมนิ สภาพการณส์ �ำ หรบั การเปลีย่ นแปลงวา่ มใี ครหรอื สิง่ ใดบา้ งที่
จะสนบั สนุนการเปลีย่ นแปลงนีแ้ ละมใี ครหรือสิ่งใดทีจ่ ะเป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งวธิ ีการแกไ้ ข
ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ในเรื่องนี้ก็คือ การวิเคราะห์พลังสนาม (force field analysis) ในแต่ละงาน
ซึ่งจะพิจารณาใน 3 เรื่องคือ สิ่งใดบ้างที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง สิ่งใดบ้างที่จะเป็นอุปสรรคกีดขวาง
การเปลี่ยนแปลง และจะก้าวข้ามอุปสรรคนั้นได้อย่างไร ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พลังสนามจะทำ�ให้เห็น
กิจกรรมหรือสิ่งต่างๆ ที่ต้องทำ�เพื่อก้าวข้ามอุปสรรคที่มีอยู่ ซึ่งแต่ละกิจกรรมสามารถแตกเป็นงานย่อยๆ ที่
ต้องดำ�เนินการ และต้องกำ�หนดว่าจะให้ใครเป็นผู้รับผิดชอบในแต่ละงานย่อย โดยการใช้แบบตารางความ
รับผิดชอบ (accountability chart) เพื่อช่วยในการวางแผนในขั้นตอนนี้ ซึ่งในตารางความรับผิดชอบนั้น
จะระบุถึงงานที่ต้องทำ�ให้แล้วเสร็จหรือส่งมอบ พร้อมทั้งก�ำ หนดเวลา และบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของ
สมาชิกในทีมต่องานแต่ละงาน เช่น เป็นผู้รับผิดชอบ ผู้อนุมัติ ผู้ให้ข้อมูล ผู้สนับสนุน เป็นต้น ทั้งนี้ จะมีการ
ระบุความหมายของแต่ละบทบาทหน้าที่ไว้ในตารางบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบด้วย

       เมื่อจัดทำ�แผนแล้วก็ต้องมีการวัดความก้าวหน้าของแผนด้วย โดยใช้ตัวชี้วัดเป็นเครื่องมือในการ
วัดผลการดำ�เนินงาน เพื่อการติดตามความก้าวหน้าของงาน กำ�หนดความเร่งด่วนของเป้าหมาย สร้างแรง
กระตุ้นในการทำ�งานให้กับพนักงาน พิจารณาจุดที่ต้องการการปรับปรุงแก้ไข

       4. 	การพัฒนาโครงสร้างที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง จะมีอยู่ 3 มิติหลักๆ คือ
            4.1 	การฝกึ อบรม ทกุ การเปลีย่ นแปลงจะเกีย่ วขอ้ งกบั บคุ คล ดงั นัน้ การเปลีย่ นแปลงจะท�ำ ให้

บุคคลในสถานศึกษาต้องการทักษะใหม่ๆ ในการทำ�งาน ดังนั้น จึงต้องมีการฝึกอบรมเพื่อให้บุคคลเหล่านั้น
มีทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำ�เป็นต่อการเปลี่ยนแปลง

            4.2 	ระบบการให้ผลตอบแทนและรางวัล ซึ่งไม่ได้หมายถึงเงินเพียงอย่างเดียว แต่รวมไป
ถึงการให้ความสำ�คัญ ตำ�แหน่งหรือสถานภาพที่ได้รับ การยอมรับจากเพื่อนร่วมงาน โอกาสในการเรียนรู้
สิ่งใหม่ๆ เป็นต้น

            4.3 	การทำ�งานเป็นทีม การเปลี่ยนแปลงน้ันต้องการการทำ�งานเป็นทีมเป็นอย่างมาก เพราะ
แตล่ ะงานตอ้ งอาศยั กลมุ่ คนทจ่ี ะตอ้ งท�ำ ใหง้ านนน้ั ส�ำ เรจ็ เปน็ ทมี งานทร่ี ว่ มแรงรว่ มใจกนั ท�ำ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
อย่างที่ต้องการ สำ�หรับทีมงานของการเปลี่ยนแปลงนั้น จะมีลักษณะสำ�คัญ 2 ประการคือ สมาชิกในทีมมี
ความรูส้ กึ เปน็ หนึง่ เดยี วกนั และทมี มเี ปา้ หมายรว่ มกนั โดยมกี ารแบง่ บทบาทและหนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน

       จะเห็นได้ว่าการบริหารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาข้างต้นเป็นการวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษา กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่เลือกใช้ให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงดัง
กล่าวรวมทั้งแสดงถึงบทบาทหน้าที่สำ�คัญของผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสม

               หลังจากศกึ ษาเนอ้ื หาสาระตอนที่ 2.1 แลว้ โปรดปฏิบตั ิกิจกรรม 2.1
                           ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 2 ตอนที่ 2.1
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43