Page 43 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 43

ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-33

ปฏิบตั ิงานของบุคลากร ทั้งนี้เพือ่ ให้โครงสรา้ งระบบทรพั ยากรมนษุ ย์สอดคล้องกบั ทิศทางการพัฒนาองค์การ
โดยรวม

       3. 	เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำ�งาน (process change) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มุ่งเน้นการ
เปลี่ยนแปลงกระบวนการเพื่อให้การทำ�งานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่น การเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ในการจัดการกับการให้บริการประชาชน หรือกระบวนการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ขององค์การ

       4. 	เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมองค์การ (cultural change) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจ
ทำ�ให้วัฒนธรรมในการทำ�งานขององค์การเปลี่ยนไป ซึ่งจะเห็นได้ชัดเมื่อองค์การต้องการเปลี่ยนเป็นองค์การ
ทีม่ ุง่ เนน้ การใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน (citizen-centric organization) จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั เปลีย่ นวฒั นธรรม
ในการติดต่อสัมพันธ์กับประชาชนและความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายบุคลากร

       จะเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงในองค์การในลักษณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในด้านของการเปลี่ยนแปลง
ดา้ นโครงสรา้ ง ดา้ นบคุ ลากร ดา้ นงานหรอื กระบวนการท�ำ งาน เทคโนโลยี หรอื ดา้ นวฒั นธรรมยอ่ มสง่ ผลกระทบ
ใหผ้ ูบ้ รหิ ารองคก์ ารวางแผนเพือ่ การบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหก้ ารบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง
ก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาองค์การ ซึ่ง ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา (ม.ป.ป.) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของ
องค์การที่ได้รับจากการบริหารการเปลี่ยนแปลงว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ในหลายด้าน อาทิ

       1. 	องคก์ ารทีม่ กี ารบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงทีด่ ี จะปรบั ตวั ไดท้ นั กบั ปญั หา และการทา้ ทายจากสภาพ
แวดลอ้ มได้ ความส�ำ เรจ็ ขององคก์ ารในยคุ ของการเปลีย่ นแปลงไมไ่ ดอ้ ยูท่ ีข่ นาด แตอ่ ยูท่ ีค่ วามสามารถในการ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ตลาด คู่แข่ง ลูกค้า ผู้รับบริการและแหล่งทรัพยากรต่างๆ

       2. 	การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี ช่วยให้องค์การเห็นโอกาส และภัยคุกคามต่างๆ ที่เกิดขึ้น
และสามารถปรับการดำ�เนินงานเพื่อคว้าโอกาส และหรือจัดการกับภัยคุกคามได้อย่างเหมาะสมและทันต่อ
เหตุการณ์

       3. 	การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะช่วยให้การดำ�เนินงานขององค์การเป็นไปโดยราบรื่นต่อเนื่อง
ไม่ต้องติดขัด ชะงักงันโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง

       4. 	การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การไม่สับสน วุ่นวาย ระสํ่าระสาย เมื่อต้องเผชิญ
กับความจำ�เป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนการดำ�เนินงาน

       5. 	การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การได้ปรับปรุงตัวเองอย่างต่อเนื่องในด้านต่างๆ
และจะช่วยให้มีการนำ�ศักยภาพที่มีอยู่ในองค์การมาใช้ได้อย่างคุ้มค่า

ปจั จัยท่ีมีอิทธิพลตอ่ การเปลีย่ นแปลง

       เลวิน (Lewin, 1952) ได้กล่าวถึงธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงว่าจะต้องมีทั้งแรงต้าน (restrain-
ing forces) และแรงขับ (driving forces) การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่อมีแรงด้านใดด้านหนึ่งมากกว่าอีก
ดา้ นหนึง่ ดังนัน้ การบรหิ ารการเปลี่ยนแปลงจึงต้องมีการพิจารณาถงึ ปจั จัยตา่ งๆ ทีเ่ ปน็ แรงตา้ นและแรงเสรมิ
และพยายามเพิ่มแรงเสริม และลดแรงต้านการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดแรงขับเคลื่อนให้องค์การดำ�เนินการ
เปลี่ยนแปลงไปจนบรรลุเป้าหมาย
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48