Page 45 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 45
ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-35
ตารางท่ี 2.3 เทคนคิ และวธิ กี ารของผนู้ �ำ เพ่ือรับมอื กับการเปล่ยี นแปลง
ภาวะอารมณ์ สภาพของผูอ้ ยใู่ นอารมณน์ ้ัน เทคนคิ และวิธกี ารของผนู้ �ำ
เพอื่ รบั มือกบั การเปลี่ยนแปลง
1. ต กใจและปฏิเสธ - รู้สึกถูกคุกคาม - หาบทบาทใหม่ให้ผู้สูญเสียงานของตน
การเปลี่ยนแปลง - ไม่ยอมรับรู้ว่ามีการ - เปิดโอกาสให้แสดงความรู้สึก
ที่เกิดขึ้น - เป็นผู้ฟังที่ดี
เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น - ช่วยบุคลากรจัดการความเครียดที่เกิดจาก
- รู้สึกไม่ปลอดภัย ปิดตัวเอง การเปลี่ยนแปลง
- ขาดความเชื่อมั่น
- ให้ทำ�งานร่วมกันแบบกลุ่มเล็ก ให้เกิดการ
2. โกรธและต่อต้าน - โกรธในสิ่งที่เกิดขึ้น สื่อสารสัมพันธ์เป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน
- ยึดเหนี่ยวกับอดีต
- รู้สึกไม่ปลอดภัย - สร้างโอกาสที่บุคลากรจะสามารถแสดงความ
รู้สึก
3. รับรู้และทดลอง - เริ่มยอมรับรู้ถึงการเปลี่ยน-
ปฏิบัติตาม แปลงและสิ่งที่สูญเสีย - อย่าเพิ่งพูดถึงผลดีของการเปลี่ยนแปลงมาก
นักเพราะบุคลากรยังไม่พร้อมรับฟัง
- เริ่มมองหาข้อดีของการ
เปลี่ยนแปลง - ร ับฟังคำ�บ่นและกระตุ้นให้แสดงความรู้สึก
ด้วยคำ�ถาม “รู้สึกอย่างไรกับเรื่องนี้?”
- หากเห็นความสำ�เร็จจะยิ่ง
มั่นใจ - เริ่มเน้นยํ้าผลดีของสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น
- ส ร้างความสัมพันธ์ในระดับกลุ่มสำ�หรับ
บุคลากรต่อไป
- ก ระตุ้นให้บุคลากรลองสิ่งใหม่ๆ แม้จะมี
ความเสี่ยงด้วยคำ�ถาม “เราจะจัดการกับเรื่อง
นี้อย่างไร ได้บ้าง?” ความสำ�เร็จจะช่วยสร้าง
ความมั่นใจ
4. ยอมรับการ - ยอมรับและปรับตัวเข้ากับ - ส ร้างความสัมพันธ์ในระดับกลุ่มสำ�หรับ
เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง บุคลากรต่อไป
และปรับตัว
- ค วามรู้สึกเจ็บปวด สับสนอาจ - เปิดโอกาสให้บุคลากรทำ�งานที่ถนัดเพื่อให้รู้สึก
เปลี่ยนแปลงเป็นผู้สนับสนุน ถึงผลสำ�เร็จของตน
การเปลี่ยนแปลง
- เปลี่ยนความสนใจของบุคลากรจากเรื่อง
อารมณ์มาสู่เรื่องงาน
- เตรียม “เปลี่ยนคน” สำ�หรับคนบางส่วนที่ไม่
สามารถปรับตัวได้ เพราะอาจสร้างผลเชิงลบ
ต่อกลุ่ม
ที่มา: สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2552) การบริหารการเปลี่ยนแปลง: Change Management. กรุงเทพมหานคร
ก.พลพิมพ์ หน้า 81