Page 48 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 48

2-38 การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพสำ�หรับผู้นำ�ทางการศึกษา

       1. 	ต�ำ แหนง่ ทีม่ อี �ำ นาจ (position power) ซึง่ ท�ำ หนา้ ทีเ่ ปน็ ตวั หลกั (key players) ในทมี เปน็ ตวั แทน
จดั การในสายงานหลกั และควรมจี �ำ นวนทีพ่ อเพยี ง เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ูท้ ีไ่ มเ่ หน็ ดว้ ยกบั การเปลีย่ นแปลงท�ำ ตวั
เป็นอุปสรรคและขัดขวางความก้าวหน้าของการเปลี่ยนแปลง

       2. 	ผู้เชี่ยวชาญ (expertise) ทำ�หน้าที่ตัวแทนความคิดเห็นในแง่มุมต่างๆ ที่หลากหลายในสาขาวิชา
ทักษะเฉพาะทาง ประสบการณ์การทำ�งานและอื่นๆ ที่สอดคล้องกับงานที่เปลี่ยนแปลง การมีผู้เชี่ยวชาญใน
ทีมช่วยให้ทีมสามารถตัดสินใจบนฐานข้อมูลและใช้ความรู้สติปัญญา

       3. 	ผู้มีความน่าเชื่อถือ (credibility) ทีมงานการเปลี่ยนแปลงจำ�เป็นต้องมีผู้ที่มีชื่อเสียงในองค์การ
อย่างเพียงพอ ความน่าเชื่อถือของสมาชิกในทีมจะช่วยให้คนอื่นเกิดความเลื่อมใสและมีความสนใจเข้าร่วม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างเอาจริงเอาจัง

       4. 	ผู้ที่มีภาวะผู้นำ� (leadership) ทำ�หน้าที่ขับเคลื่อนกระบวนการเปลี่ยนแปลง และควรได้รับการ
ยอมรับจากกลุ่มแล้วว่ามีความสามารถในการเป็นผู้นำ�ได้จริง

       การเตรยี มบคุ คลและทมี งานเพือ่ การบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงเปน็ สิง่ ส�ำ คญั ทีผ่ ูบ้ รหิ ารจะตอ้ งวางแผน
เพือ่ การเตรยี มการส�ำ หรบั การบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงอยา่ งเปน็ ระบบ ซึง่ หากองคก์ ารไมไ่ ดเ้ ตรยี มพรอ้ มรบั มอื
การเปลีย่ นแปลงโดยการวางแผนดา้ นตวั บคุ คลผรู้ บั ผดิ ชอบในหนา้ ทีต่ า่ งๆ ดงั กลา่ วแลว้ การด�ำ เนนิ งานบรหิ าร
การเปลี่ยนแปลงอาจพบอุปสรรค และไม่สามารถดำ�เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความจำ�เปน็ ของการบรหิ ารการเปล่ยี นแปลงในหนว่ ยงานภาครฐั

       จากบริบทของความเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และแรงกดดันจากกระแส
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกไปสู่สังคมแห่งความรู้ (knowledge-based society) ซึ่งเป็นสังคมที่แข่งขัน
ด้วยความรู้ ทักษะ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการบริหารจัดการองค์การสมัยใหม่อันเป็นผลให้หน่วยงาน
ภาครัฐจำ�เป็นต้องเร่งปรับตัวอย่างเร่งด่วน เพื่อให้สามารถยืนหยัดแข่งขันอยู่ในเวทีโลกอย่างมีศักยภาพ
กอรปกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่และอำ�นาจรัฐ
อยา่ งมาก โดยใหภ้ าคประชาชนและสงั คมมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารประเทศเพมิ่ มากขนึ้ ดงั นนั้ จงึ จ�ำ เปน็ อยา่ งยงิ่
ทีต่ อ้ งพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การภาครฐั อยา่ งทัว่ ถงึ ในทกุ ๆ ดา้ นเพือ่ ใหบ้ คุ ลากรในหนว่ ยงานมคี วามรู้ มที กั ษะ
ตามทันเทคโนโลยีและนวัตกรรม การบริหารจัดการองค์การสมัยใหม่ มีความรอบรู้ทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง การปกครอง และสามารถนำ�มาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพแบบมืออาชีพ
รวมทั้งกฎ ระเบียบต่างๆ ที่ได้กำ�หนดให้มีการมุ่งเน้นการพัฒนา “คน” และรวมทั้งบุคลากรภาครัฐจะต้องได้
รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการทำ�งานเพิ่มขึ้น อาทิ

       1. 	แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานภาครัฐใน
ภาพรวมของประเทศเพื่อให้บรรลุยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.
2540-2544) จะเริ่มให้ความสำ�คัญกับการปรับกระบวนทรรศน์การพัฒนาใหม่ มาสู่การพัฒนาที่เป็นองค์รวม
มุง่ ปรับวธิ กี ารคิดใหเ้ ชือ่ มโยงกันอยา่ งเป็นระบบ ปรบั วธิ ีการทำ�งานทีย่ ดึ ภารกจิ ร่วมกนั และทำ�งานแบบมสี ว่ น
ร่วมคิด ร่วมทำ�และร่วมรับผิดชอบ แต่ในทางปฏิบัติก็ยังไม่บังเกิดผลเท่าที่ควร ประกอบกับโครงสร้างระบบ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53