Page 51 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 51
ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-41
ตารางท่ี 2.4 สรุปแนวคดิ และหลกั การของตัวแบบการเปล่ียนแปลง
ตัวแบบการเปลย่ี นแปลง แนวคดิ นกั ทฤษฎี หลกั การ
ตัวแบบการบริหาร เคิร์ท เลวิน การวิเคราะห์พลังสนาม (Force-Field Analysis) ที่มา
การเปลี่ยนแปลง (Kurt Lewin) จากแรงขับ (driving forces) และแรงต้าน (restrain-
แบบกระบวนการ ing forces) 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการละลาย (unfreez-
ing) ขั้นเคลื่อนย้าย (movement) ขั้นการทำ�ให้คงอยู่
ฟรอห์แมน ซาสกิน (freezing)
และคาวาเนฟ
(Frohman, Saskin มุ่งเน้นที่กระบวนการสำ�คัญ 8 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้น
& Kavange) สังเกตการณ์ ขั้นเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลง ขั้นการเก็บ
รวบรวมข้อมูล ขั้นให้ข้อมูลย้อนกลับ ขั้นวินิจฉัย
ตัวแบบการบริหาร ปีเตอร์ โรเบิร์ตสัน ขั้นวางแผนปฏิบัติการ ขั้นนำ�แผนไปปฏิบัติ และขั้น
การเปลี่ยนแปลงแบบ และเจอร์รี พอรราส์ ประเมินผล
วิเคราะห์ (Peter Robertson &
องค์การ Jerry Purras) การเปลี่ยนแปลงจะมาจากปัจจัยสำ�คัญ 4 ประการ คือ
1. การจัดองค์การ (organizing arrangement)
เบอร์กและลิตวิน 2. ปัจจัยทางสังคม (social factors)
(Burke & Litwin) 3. ลักษณะทางกายภาพ (physical setting)
4. เทคโนโลยี (technology)
มาร์วิน ไวส์บอร์ด
(Marvin R. Weisbord) ตัวแบบการเปลี่ยนแปลงมาจาก 7 ปัจจัยที่เป็นองค์
ประกอบขององค์การ ได้แก่ สภาพแวดล้อมภายนอก
พันธกิจและยุทธศาสตร์ ภาวะผู้นำ� วัฒนธรรมองค์การ
โครงสร้าง ระเบียบปฏิบัติ และระบบการทำ�งานซึ่งแบ่ง
ออกเป็น 3 ระยะ คือ
- ระยะที่หนึ่ง การเปลี่ยนแปลงเริ่มจากสภาพ
แวดล้อมภายนอก
- ระยะที่สอง การเปลี่ยนแปลงระยะแรกส่งผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และ
- ระยะที่สาม เป็นพฤติกรรมที่ต้องการขององค์การ
จะมุง่ เนน้ ไปทีป่ จั จยั 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ เปา้ ประสงค์ โครงสรา้ ง
ความสัมพันธ์ การให้รางวัล ภาวะผู้นำ� และกลไกความ
ช่วยเหลือ