Page 55 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 55

1. การนิยามความหมาย            ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-45
                     2. การค้นพบ

5. ความสามารถ                      3. การฝัน
	 ในการจัดการ

                     4. การออกแบบ

         ภาพท่ี 2.5 แสดงกระบวนการบริหารการเปลีย่ นแปลงของโคออปเปอไรเดอร์ (Cooperider)

ที่มา:	 ปรับจากสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2550) คู่มือการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อเสริมสร้างความเป็นเลิศใน
     การปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐ กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หน้า 5

       กลยุทธ์ที่ตั้งอยู่บนแนวกรอบความคิดนี้มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเริ่มต้นจากการค้นหาและ
ตระหนักรู้ในสิ่งที่ดีที่สุดที่องค์การมีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ จุดเด่น พรสวรรค์ ความสามารถพิเศษ ปัจจัยที่ก่อ
ให้เกิดชีวิตและพลัง (life-giving forces) ขององค์การและบุคคลเพื่อนําไปสู่สิ่งที่อาจเป็นไปได้ในอนาคต
การเปลี่ยนแปลงโดยใช้กรอบแนวคิดนี้ จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เน้นวิธีคิดในเชิงบวกเป็นสำ�คัญ

       จะเห็นได้ว่าตัวแบบของการบริหารการเปล่ียนแปลงมีอยู่หลายลักษณะท้ังในส่วนของกระบวนการ
บริหารการเปลย่ี นแปลง การวเิ คราะห์องคก์ ารและในเชงิ วงจรของการบริหารงาน เช่น กระบวนการบริหารงาน
ของ เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) เบอร์กและลิตวิน (Burke & Litwin) คอตเตอร์ (Kotter) ฯลฯ ส่วนเซงเก้
(Senge) เนน้ การปรบั เปลีย่ นองคก์ ารโดยเริม่ ทีก่ ารปรบั เปลีย่ นความคดิ ความเชือ่ คา่ นยิ มของคนสว่ นใหญใ่ น
องค์การโดยเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงเกิดจากความรู้อันหยั่งลึกของบุคคลในองค์การ ในขณะที่กรอบ
แนวคิดของโคออปเปอไรเดอร์ (Cooperider) ที่มุ่งเน้นการค้นหาสิ่งดีๆ ทั้งปวงที่ปรากฏอยู่ในสภาวะปัจจุบัน
ของระบบต่างๆ ตลอดจนในปัจเจกบุคคลแต่ละคน ซึ่งกรอบแนวคิดต่างๆ เหล่านี้ ผู้บริหารต้องวิเคราะห์
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์การและพิจารณาคัดเลือกกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสม
ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถบริหารองค์การเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60