Page 49 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา
P. 49

ภาวะผู้นำ�และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2-39

บริหารราชการ ตลอดจนทศั นคติ คา่ นิยมของคนยงั ไม่สามารถปรับเปลี่ยนไดท้ นั ทีทนั ใดและเป็นอปุ สรรคตอ่
การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติอยู่มาก ดังนั้น ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จึงต้องมีการ
บริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกดิ การแปลงแผนไปสูก่ ารปฏิบตั ิอย่างจรงิ จงั และตอ่ เนือ่ ง โดยใหค้ วามสำ�คญั
อย่างมากต่อการผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีทำ�งาน รวมทั้งการสร้างพลังสังคมในทางบวก

       ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับการ
เปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญในหลายบริบท ทั้งที่เป็นโอกาสและข้อจำ�กัดต่อการพัฒนาประเทศ จึงต้องมีการเตรียม
ความพร้อมของคนและระบบให้มีภูมิคุ้มกันพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น โดย
กำ�หนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคนชุมชนและสังคม ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้
สมดุลและยั่งยืน และในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) (สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2554) ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทย
จะต้องเผชิญกับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนเร็วและ
ซบั ซอ้ นมากยิง่ ขึน้ เปน็ ทัง้ โอกาสและความเสีย่ งตอ่ การพฒั นาประเทศ โดยเฉพาะขอ้ ผกู พนั ทีจ่ ะเขา้ สูป่ ระชาคม
อาเซยี นในปี 2558 จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งน�ำ ภมู คิ ุม้ กนั ทีม่ อี ยูพ่ รอ้ มทัง้ เรง่ สรา้ งภมู คิ ุม้ กนั ในประเทศใหเ้ ขม้ แขง็ ขึน้ มาใช้
ในการเตรยี มความพรอ้ มใหแ้ กค่ น สงั คม และระบบเศรษฐกจิ ของประเทศใหส้ ามารถปรบั ตวั รองรบั ผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม สามารถพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าต่อไปเพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืนของ
สังคมไทยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

       2. 	พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี พ.ศ. 2546 ไดก้ �ำ หนด
กรอบและแนวทางที่ส่วนราชการและข้าราชการต้องปฏิบัติไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 โดยกำ�หนดให้ข้าราชการต้องทำ�งาน

            1) 	เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
            2) 	ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
            3) 	ให้มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
            4) 	ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
            5) 	ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
            6) 	ประชาชนได้รับการอำ�นวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
            7) 	มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสมํ่าเสมอ
       3. 	ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย จากยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.
2546-2550 (ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ 2555) รฐั บาลไดใ้ หค้ วามส�ำ คญั ในเปา้ ประสงคร์ วม
4 ประการ ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพการให้บริการ การปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้มีความเหมาะสม
การยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำ�งานให้อยู่ในระดับสูงและเทียบเท่าเกณฑ์สากล และ
ตอบสนองต่อการบริหารการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผน
ยุทธศาสตร์ดังกล่าวที่ได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่อง พบว่าสามารถบรรลุเป้าประสงค์ตามที่ต้องการ กล่าว
คือ ประชาชนมีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการและเชื่อมั่นศรัทธาต่อระบบราชการมากขึ้น บทบาท
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54