Page 20 - การประเมินองค์กรและบุคลากร
P. 20
13-10 การประเมินองค์กรและบุคลากร
2.2 เป็นประโยชน์ในการการพัฒนาบุคคลให้มีความสามารถสุงสุดเพื่อให้เต็มศักยภาพที่บุคลากร
นั้นมีอยู่และสามารถพัฒนาได้
2.3 ผู้บังคับบัญชารับรู้ศักยภาพหรือจุดแข็งของบุคลากรศักยภาพในบุคลากรแตกต่างกัน ทำ�ให้
รู้จักและเข้าใจความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชาของตนเองมากขึ้นให้ความเห็นในการกำ�หนดแนวทางการ
พัฒนาบุคลากร
2.4 เป็นการวางตัวบุคลากรที่มีศักยภาพความพร้อมที่จะรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ในการทำ�งานที่
อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต คนที่จะได้เติบโตในตำ�แหน่งสำ�คัญเป็นคนที่มีความสามารถสูงสุด ไม่ใช่คนมาจาก
การเมืองในองค์กร
3. หลักการการประเมนิ ศักยภาพของบุคลากร
ศักยภาพของบุคลากรแตกต่างกับการประเมินการปฏิบัติงาน เนื่องจากการประเมินการปฏิบัติงาน
เป็นการประเมินความสามารถในการทำ�งานที่มีอยู่ในปัจจุบัน แต่การประเมินศักยภาพของบุคลากรเป็น
การประเมินความสามารถสูงสุดที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล ความสามารถที่มีอยู่ในปัจจุบันอาจไม่ใช่ความสามารถ
สูงสุดของบุคคลนั้น การพัฒนาสั่งสมความสามารถจะทำ�ให้ความสามารถในการปฏิบัติงานเกิดเป็นศักยภาพ
ของบคุ คลนัน้ ดงั นัน้ การประเมนิ ศกั ยภาพของบคุ ลากรในองคก์ รตา่ ง ๆ จงึ กระท�ำ ไดใ้ นระดบั ของการประเมนิ
แววของการมีศักยภาพ หลักการของการประเมินศักยภาพของบุคลากรในปัจจุบันจึงมีลักษณะ ดังนี้
3.1 นิยามสิ่งที่ต้องการประเมินให้ชัดเจนและสร้างตัวชี้วัดที่ตรงและครอบคลุมนิยาม เนื่องจาก
ศักยภาพเป็นพฤติกรรมที่เป็นนามธรรม เช่น ศักยภาพด้านการบริหาร ศักยภาพด้านความเป็นวิชาการ
ศกั ยภาพดา้ นความออกแบบ เปน็ ตน้ การวดั และการประเมนิ ศกั ยภาพจงึ เปน็ การวดั ทางออ้ ม นยิ ามศกั ยภาพ
ในด้านนั้น ๆ ให้ชัดเจนมีความสำ�คัญมาก การให้นิยามที่ชัดเจนสิ่งที่ตามมาคือทำ�ให้สร้างตัวชี้วัดได้ง่าย และ
สรา้ งตวั ชีว้ ดั ทีต่ รงและครอบคลมุ นยิ าม ถา้ นยิ ามไมต่ รงหรอื ไมถ่ กู ตอ้ ง ตวั ชีว้ ดั ทีส่ รา้ งตามนยิ ามกไ็ มม่ คี ณุ ภาพ
ทำ�ให้ผลการวัดและประเมินได้ไม่ตรงกับคุณลักษณะที่ต้องการวัด
3.2 ใช้เครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพเหมาะกับพฤติกรรมที่ต้องการวัด ดำ�เนินการประเมินด้วย
เงื่อนไข หรือสภาพการณ์ที่เหมือนกัน ผู้ดำ�เนินการประเมินไม่ลำ�เอียง ไม่เปิดโอกาสให้ผู้ถูกประเมินเกิดการ
ไดเ้ ปรยี บเสยี เปรยี บขึน้ ใชเ้ ครือ่ งมอื ทีม่ คี ณุ ภาพ เชน่ มคี วามตรงและเทีย่ ง มคี วามเปน็ ปรนยั มอี �ำ นาจจ�ำ แนก
สูง
3.3 การตัดสินผลการประเมินเที่ยงธรรม โปร่งใส การแปลผลการประเมินโดยเทียบกับเกณฑ์
ที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้า การแปลผลการประเมินอย่างถูกต้อง ตามหลักฐานสภาพความเป็นจริงบนข้อมูลที่
เชือ่ ถอื ได้ การแปลผลเปน็ ลักษณะของศักยภาพทีม่ ใี นตวั บุคคล การแปลผลชัดเจนน่าเชือ่ ถอื ขึ้นอยู่กบั เกณฑ์
ที่เป็นปรนัยเข้าใจได้ตรงกัน