Page 24 - การประเมินองค์กรและบุคลากร
P. 24

13-14 การประเมินองค์กรและบุคลากร

3. 	การจัดท�ำ นยิ ามและตัวชวี้ ัด

       ศักยภาพของบุคลากรมีหลายด้าน การจัดทำ�นิยามของศักยภาพเฉพาะด้านบุคลากรที่องค์กร
ต้องการ จะทำ�ให้สามารถระบุตัวชี้วัด หรือ KPI (Key Performance Indicator) หรือ กำ�หนดรายการของ
คุณลักษณะ ได้ชัดเจนเป็นรูปธรรมมาก ขึ้นทำ�ให้การประเมินง่ายขึ้น บุคลากรที่ต้องการได้รับการสรรหา
และการเข้าสู่ตำ�แหน่งจะเข้าใจได้ตรงกัน เป็นการสร้างความยุติธรรมในการประเมิน ตัวชี้วัดจะต้องเป็น
การกำ�หนดพฤติกรรมที่คงที่สามารถสังเกตเห็นและวัดได้  และสามารถวิเคราะห์และตีค่าคะแนนออกมา
ได้ ดังที่เราได้ทราบนิยามของ ศักยภาพของบุคลากร คือ ความสามารถสูงสุดที่แฝงอยู่ในตัวบุคคลความ
สามารถที่มีอยู่ใน กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการตรวจสอบตัดสินความสามารถสูงสุดที่
แฝงอยู่ในบุคลากรอาจทำ�ให้พัฒนาหรือให้ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ์ จากนิยามนี้จัดทำ�เป็ตัวชี้วัดเพื่อใช้ใน
การสร้างเครื่องมือในการวัดศักยภาพ

       ตัวอย่างที่ 1 กรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่เข้าร่วมโครงการ HiPPS พัฒนากลุ่มคนผลการปฏิบัติงาน
สูงและมีศักยภาพระดับสูง มีการจัดทำ�คลังข้อมูลข้าราชการที่มีศักยภาพสูงโดยการกำ�หนดสมรรถนะที่จะ
จำ�แนกเข้าสู่คลังข้อมูล

          ตัวชี้วัด                                    คำ�อธิบายตัวชี้วัด
1.	ค วามเฉลียวฉลาดในการ
                                  เป็นผู้ที่มีความเฉลียวฉลาดในการคิดค้นที่จะทำ�งานให้บรรลุผลสำ�เร็จ
  ทำ�งานให้บรรลุผลสำ�เร็จ         แมว้ า่ จะมอี ปุ สรรคใด ๆ กต็ ามโดยเฉพาะในเรอื่ งทีบ่ คุ คลทัว่ ไปไมส่ ามารถ
                                  ทำ�ได้
2.	การเตรียมรับการเปลี่ยนแปลง
  ล่วงหน้า                        หมายถึง เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเรียนรู้รีบเปลี่ยนตนเองและวิธี
                                  การท�ำ งานไดล้ ว่ งหนา้ มคี วามรวดเรว็ เตรยี มพรอ้ มกอ่ นการเปลีย่ นแปลง
3.	เป็นผู้นำ�ที่สามารถสร้างแรง   จะมีผลกระทบ
  บันดาลใจ
                                  เป็นผู้ที่แสดงให้เห็นว่า มีศักยภาพในการเป็นผู้นำ� กระตุ้นหรือผลักดัน
4.	เป็นผู้ที่มีพลังผลักดันตนเอง   ให้ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ที่มีผลกระทบต่อความสำ�เร็จให้ทุ่มเททำ�งานเกิดผล
                                  สำ�เร็จเหนือกว่าที่บุคคลนั้นทำ�ได้ด้วยตนเอง
5.	สามารถสร้างให้เกิดความ
	 เชื่อถือในความคิดเห็นที่เสนอ    เป็นผู้ที่มีพลังผลักดันให้งานบรรลุผลสำ�เร็จเหนือกว่าเป้าหมาย แม้จะมี
                                  ปัญหาหรืออุปสรรคใด ๆ ก็ตาม ด้วยทัศนคติที่ต้องการเอาชนะปัญหา
                                  ต่าง ๆ

                                  เป็นผู้ที่มีความสามารถสร้างให้เกิดความเชื่อถือในความคิดเห็นที่เสนอ
                                  และปฏิบัติได้ถูกต้อง ไม่ว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลจะมีความแตกต่าง
                                  กับตนเอง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29