Page 34 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 34

7-24 การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้

            2.1.4 	การประเมินการนำ�หลักสูตรไปปฏิบัติ ในหลักสูตรใหม่มักมีการเรียกร้องให้กำ�หนด
วัตถุประสงค์ใหม่และแผนการเรียนรู้ใหม่ การนำ�หลักสูตรไปปฏิบัติจริงอาจมีปัญหาในด้านการยอมรับจาก
ผู้เกี่ยวข้อง ดังนั้น ในการประเมินการนำ�หลักสูตรไปปฏิบัติจึงควรดำ�เนินการด้วยความรอบคอบอย่างตรงไป
ตรงมาและยตุ ธิ รรม โดยการวเิ คราะหแ์ ผนงานของหลกั สตู รอยา่ งละเอยี ดแลว้ บง่ บอกถงึ คณุ ลกั ษณะทีจ่ �ำ เปน็
ของแผนทัง้ หมด โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ แผนทีม่ คี รแู ละนกั เรยี นเขา้ มาเกีย่ วขอ้ ง แลว้ จดั ท�ำ บญั ชสี ารสนเทศวา่ การ
นำ�หลักสูตรไปปฏิบัติมีคุณสมบัติใดทำ�ได้ตามแผน และคุณสมบัติใดที่ขาดหายไป การเก็บข้อมูลอาจทำ�ได้
โดยการสังเกตในห้องเรียน การพูดคุยกับครูและผู้เรียน การสอบและการกำ�หนดงานให้ทำ�

            2.1.5 	การประเมนิ ผลลพั ธข์ องหลกั สตู ร  เปน็ การประเมนิ ผลสมั ฤทธิข์ องผูเ้ รยี นโดยเนน้ ตาม
พฤตกิ รรมทีก่ �ำ หนดไวใ้ นหลกั สตู รโดยประเมนิ ทัง้ ผลทีเ่ กดิ การเรยี นรูโ้ ดยตรงและผลขา้ งเคยี ง (side effects)
อื่นๆ ทั้งทางบวกและทางลบ ข้อมูลการประเมินผลข้างเคียงอาจได้จากการสังเกตในชั้นเรียน การพูดคุยกับ
ครูและผู้ปกครอง การทบทวนรายการที่บันทึกไว้ และจากการสังเกตผลงานของนักเรียนจากแฟ้มสะสมงาน

            2.1.6 	การกำ�กับติดตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เมื่อมีการนำ�หลักสูตรมาดำ�เนินการและได้ผล
ตามที่คาดหวังไว้แล้ว อาจนำ�หลักสูตรดังกล่าวมาดำ�เนินการซํ้าในรอบใหม่ ซึ่งต้องมีการกำ�กับหลักสูตรอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง เพราะหลกั สตู รอาจจะเบีย่ งเบนไปจากเดมิ เมือ่ เวลาเปลีย่ นไป กระบวนการและผลลพั ธข์ องหลกั สตู ร
ก็อาจจะเปลี่ยนไปด้วย การกำ�กับหลักสูตรอย่างต่อเนื่องจะมีประโยชน์ต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพของการ
จัดการศึกษาให้ดีขึ้น

       2.2 	การประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินภาคขยายของไทเลอร์เพื่อการประเมินหลักสูตร การ
ประเมินตามรูปแบบภาคขยายของไทเลอร์ควรทำ�การประเมินตั้งแต่การเริ่มต้นหลักสูตร เช่น สถานศึกษา
จัดทำ�หลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบการประเมินภาคขยายของไทเลอร์หรือไทเลอร์ใหม่ ซึ่งมีลำ�ดับ
ขั้นตอน ดังนี้

            2.2.1 	การประเมินวัตถุประสงค์ของหลักสูตร เป็นการประเมินว่าวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
สถานศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทิศทางการปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษที่สอง และสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและ
สังคมหรือไม่

            2.2.2 	การประเมินแผนการเรียนรู้ เป็นการตรวจสอบหลักสูตรการจัดการศึกษาเดิมหรือ
สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่า มีจุดบกพร่องอะไร และศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ
ศึกษาเพื่อนำ�มากำ�หนดแผนการเรียนรู้ของผู้เรียนตามหลักสูตรใหม่ และควรวางแผนการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ให้สอดคล้องกิจกรรมของหลักสูตรและทิศทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

            2.2.3 	การประเมินเพื่อนำ�ไปสู่การจัดทรัพยากรหลักสูตร เป็นการประเมินสื่อและเครื่องมือ
ว่าจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์และจุดเน้นของการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตาม
หลกั สูตรหรอื ไม่ กบั ทัง้ ตรวจสอบวา่ มกี ารจดั อบรมครใู หม้ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจ เหน็ ความสำ�คญั ของการจดั การ
เรียนการสอนตามจุดเน้นของหลักสูตรใหม่หรือไม่ และครูสามารถใช้สื่อและเครื่องมือต่างๆ ในการจัดการ
เรียนการสอนได้ดีเพียงใด
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39