Page 42 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 42
7-32 การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
6. รปู แบบการประเมินของสเตค
สเตค (Stake, 1967; cited in Popham, 1975: 31) ได้เสนอแนวคิดในการประเมินหลักสูตรใน
รูปแบบการประเมินความสอดคล้องระหว่างสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง โดยให้ความหมายของการ
ประเมินไว้ว่า เป็นการบรรยาย และตัดสินคุณค่าของหลักสูตร ซึ่งจำ�เป็นต้องมีข้อมูล 2 ประเภท คือข้อมูลที่
เกี่ยวกับการบรรยาย และข้อมูลที่เกี่ยวกับการตัดสิน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
6.1 ข้อมูลที่เกี่ยวกับการบรรยาย ประกอบด้วยข้อมูล 2 ประเภท คือ
6.1.1 ข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพที่คาดหวังหรือเป้าหมาย เป็นส่วนที่กล่าวถึงความคาดหวังหรือ
ความต้องการของหลักสูตรว่าต้องการให้เกิดอะไรขึ้นบ้าง โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
1) การคาดหวังเกี่ยวกับสิ่งที่มีมาก่อน เป็นการประเมินสิ่งที่มีอยู่ก่อนที่จะมีการดำ�เนิน
การใช้หลักสูตรหรือก่อนการเรียนการสอน เช่น ลักษณะของผู้เรียน ลักษณะของผู้สอน ลักษณะเนื้อหา
อุปกรณ์ สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน อาคาร สถานที่ การจัดระบบบริหารหลักสูตร เป็นต้น
2) การคาดหวังเกี่ยวกับกระบวนการหรือการปฏิบัติ เป็นการประเมินปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น
3) การคาดหวังเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น เป็นการประเมินความสามารถด้านต่างๆ
ของผู้เรียน เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติ ผลที่มีต่อผู้บริหาร ครู และสถานศึกษา เป็นต้น
6.1.2 ขอ้ มลู เกีย่ วกบั สภาพทีเ่ ปน็ จรงิ การเกบ็ รวมรวมขอ้ มลู กจ็ ะตอ้ งเกบ็ รวม 3 ดา้ น เชน่ เดยี ว
กบั สภาพทีค่ าดหวงั คอื สิง่ ทีเ่ กดิ ขึน้ จรงิ ในดา้ นสิง่ ทีม่ มี ากอ่ น ดา้ นกระบวนการหรอื การปฏบิ ตั แิ ละดา้ นผลลพั ธ์
การบรรยายขอ้ มลู สงิ่ ทปี่ ระเมนิ ระหวา่ งสภาพทีค่ าดหวงั และสภาพทีเ่ ปน็ จรงิ สรปุ ความสมั พนั ธ์
ได้ดังภาพที่ 7.4