Page 43 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 43
การบรรยายขอ้ มูล ความสอดคล้อง การประเมินหลักสูตร 7-33
สภาพทีค่ าดหวงั สภาพทีเ่ ป็นจรงิ
สิ่งที่มีมาก่อน
สิ่งที่มีมาก่อน
ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ความสัมพันธ์เชิงประจักษ์
กระบวนการ ความสอดคล้อง กระบวนการ
ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ความสัมพันธ์เชิงประจักษ์
ผลลัพธ์ ความสอดคล้อง ผลลัพธ์
ภาพที่ 7.4 การบรรยายสิง่ ทีป่ ระเมนิ ตามรปู แบบการประเมินของสเตค
ที่มา: Worthen B.R. and Sanders, J.R. (1973). Educational evaluation: Theory and Practice. CA: Wadsworth, p. 118
6.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจ เนื่องจากการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างสภาพคาดหวังกับ
สภาพที่เป็นจริงนั้น มิได้บ่งบอกถึงความน่าเชื่อถือและความตรง เพียงแต่ทำ�ให้เราทราบว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
หรอื ไมเ่ ทา่ นัน้ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมขี อ้ มลู เกีย่ วกบั การตดั สนิ ใจมาชว่ ยในการตดั สนิ วา่ การใชห้ ลกั สตู รมสี มั ฤทธผิ ล
หรือไม่ เพียงใด โดยอาศัยเกณฑ์ 2 ชนิด คือ (Worthen and Sander, 1973: 113-125)
1) เกณฑ์สัมบูรณ์ เป็นเกณฑ์ที่ผู้ประเมินตั้งไว้ โดยอาจกำ�หนดมาจากทฤษฎี หลักการหรือ
การวิจัย และเอกสารอ้างอิง
2) เกณฑ์สัมพัทธ์ เป็นเกณฑ์ที่ได้มาจากพฤติกรรมกลุ่ม หรือยึดเอาลักษณะของหลักสูตรใด
หลักสูตรหนึ่งมาเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบ
จากขอ้ มลู ทีเ่ กบ็ รวบรวมมา 3 ชนดิ นี้ ผูป้ ระเมนิ จะตอ้ งแยกขอ้ มลู เปน็ 4 ประเภทคอื สภาพทีค่ าดหวงั
สภาพทีเ่ ปน็ จรงิ มาตรฐานทีใ่ ชป้ ระเมนิ และการตดั สนิ ใจ รปู แบบการประเมนิ ของสเตคไดเ้ สนอไวด้ งั ภาพที่ 7.5