Page 46 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 46

7-36 การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
เพื่อการวางแผน (planning decisions) การตัดสินใจเพื่อกำ�หนดโครงสร้าง (structuring decisions)
การตัดสินใจเพื่อนำ�หลักสูตรไปใช้ (implementing decisions) และการตัดสินใจเพื่อการทบทวนหลักสูตร
(recycling decisions) มโนทัศน์เบื้องต้นของรูปแบบ CIPP ก็คือประเภทของการตัดสินใจที่แตกต่างกัน
จำ�เป็นต้องใช้สารสนเทศในการตัดสินใจที่แตกต่างกันด้วย ซึ่งสตัฟเฟิลบีมและคณะ ได้จำ�แนกการตัดสินใจ
และการประเมินเพื่อการบริหารและการวางแผนไว้ 4 ประเภท ดังนี้ (Fitzpatrick, Sanders and Worthen,
2004: 89)

            7.2.1 	การประเมินบริบท (context evaluation) เป็นการประเมินสภาวะแวดล้อม ความ
ต้องการจ�ำ เปน็ ของหลกั สูตร เพื่อให้ไดส้ ารสนเทศสำ�หรบั การตดั สนิ ใจในการวางแผนก�ำ หนดจดุ มุ่งหมายของ
หลกั สตู ร การประเมนิ บรบิ ทเปน็ การประเมนิ เกีย่ วกบั นโยบายทางการศกึ ษา ปรชั ญา เปา้ หมาย แรงกดดนั ทาง
เศรษฐกิจและสังคม ความต้องการของบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแรงกดดันทางการเมือง วิธี
การประเมินทำ�โดยการบรรยายบริบทเปรียบเทียบกับตัวป้อนและผลที่ได้รับจริงๆ กับสิ่งที่คาดหวังไว้ โดย
การเปรียบเทียบเชิงระบบที่เกิดขึ้นจริงสิ่งที่เป็นไปได้ของความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เป็นจริงกับสิ่งที่คาดหวัง
สารสนเทศที่ได้ใช้ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนในการกำ�หนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร

            7.2.2 	การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (input evaluation) เป็นการประเมินทรัพยากร โครงสร้าง
เนื้อหาหลักสูตร เพื่อให้ได้สารสนเทศสำ�หรับการตัดสินใจเพื่อกำ�หนดโครงสร้างของหลักสูตร และวางแผน
ดำ�เนนิ การใชห้ ลกั สตู ร เปน็ การตรวจสอบความพอเพยี งของทรัพยากร ความพร้อมของปจั จยั สนบั สนนุ ต่างๆ
เช่น บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งการเรียนรู้ เป็นต้น รวมทั้งประเมินความเหมาะสมโครงสร้าง
เนื้อหา หลักสูตร และแผนการดำ�เนินการใช้หลักสูตร

            7.2.3 	การประเมินกระบวนการ (process evaluation) เป็นการประเมินกระบวนการนำ�
หลักสูตรไปใช้ ประกอบด้วยการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล การสนับสนุน
ส่งเสริมการเรียนการสอน เพื่อให้ได้สารสนเทศสำ�หรับการตัดสินใจเกี่ยวกับการนำ�หลักสูตรไปใช้ ซึ่งเป็นการ
ประเมินในเชิงความก้าวหน้าเพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัด
ประเมินผล การสนับสนุนส่งเสริมการเรียนการสอน รวมทั้งศึกษาปัญหาและอุปสรรค จุดเด่น จุดด้อย ของ
หลักสูตร

            7.2.4 การประเมนิ ผลติ ผล (product evaluation) เปน็ การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
ของหลกั สตู ร เพือ่ ตรวจสอบคณุ ลกั ษณะของผูส้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาและการบรรลจุ ดุ มุง่ หมายของหลกั สตู ร เพือ่ ให้
ไดส้ ารสนเทศส�ำ หรบั การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั การทบทวนหลกั สตู ร ซึง่ เปน็ การประเมนิ ผลหลงั จากการด�ำ เนนิ การ
ใช้หลักสูตรครบวงจรแล้ว ประกอบด้วย การประเมินผลผลิต (output evaluation) โดยพิจารณาจาก
ปริมาณและคุณภาพของผู้สำ�เร็จการศึกษาเปรียบเทียบกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ตลอดจนการนำ�ความรู้
ไปใช้ในการปฏิบัติงาน อีกส่วนหนึ่งคือการประเมินผลกระทบ (impact) สารสนเทศที่ได้จะนำ�มาใช้ในการ
ตัดสินคุณค่าผลผลิตของหลักสูตร ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อที่จะตัดสินใจว่าควรจะใช้หลักสูตร
ต่อไป ปรับขยาย เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิกหลักสูตร

       มโนทัศน์สำ�คัญของรูปแบบการประเมินซิป ก็คือจะต้องเป็นการประเมินเพื่อให้ได้สารสนเทศ
สำ�หรับการตัดสินใจตามช่วงระยะเวลาของการดำ�เนินการหลักสูตร กล่าวคือ การประเมินสภาวะแวดล้อม
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51