Page 51 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 51
การประเมินหลักสูตร 7-41
2. การเตรียมการเบื้องต้นเพื่อการประเมิน ก่อนที่จะตัดสินใจทำ�การประเมินหลักสูตรและกำ�หนด
รายละเอียดของโครงการประเมินหลักสูตร ผู้ประเมินควรจัดการ เตรียมการหรือประชุมเบื้องต้นก่อนการ
ประเมินเพื่อพบปะบุคคลที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร โดยศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้
2.1 ใครคือผู้ที่ต้องการให้มีการประเมิน การที่ผู้ประเมินได้รู้ว่าผู้ที่ต้องการให้มีการประเมิน
คือใคร ก็จะช่วยให้ได้ข้อมูลความต้องการสำ�หรับการวางแผนการประเมินได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ถ้าผู้บริหาร
ผูส้ นบั สนนุ ครแู ละผูป้ ฏบิ ตั งิ านเกีย่ วกบั หลกั สตู รตอ้ งการใหม้ กี ารประเมนิ ผูป้ ระเมนิ มกั จะไดร้ บั ความรว่ มมอื
ในการดำ�เนินการประเมิน เนื่องจากผู้บริหารและผู้สนับสนุนมีความประสงค์ที่จะรับทราบรายงานผลการ
ประเมิน ในขณะครแู ละผูป้ ฏิบตั ิงานก็มีความประสงค์ที่จะรับทราบข้อเสนอแนะจากการประเมนิ เพื่อปรับปรงุ
พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการใช้หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนด้วย
2.2 ต้องการการประเมินประเภทใด ก่อนทำ�การประเมิน ผู้ประเมิน ผู้บริหาร ผู้สนับสนุน ครู
และผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับหลักสูตร ต้องตัดสินใจให้แน่ชัดว่า ต้องการการประเมินผลแบบใด กรณีผู้บริหาร
สถานศึกษา ครูและผู้ปฏิบัติงานอาจต้องการให้มีการประเมินระหว่างการดำ�เนินการใช้หลักสูตร (formative
evaluation) เพือ่ น�ำ ขอ้ มลู ผลการประเมนิ มาใชป้ รับปรุงการบรหิ ารหลักสตู ร และการจดั การเรยี นการสอนให้
มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามแผนที่กำ�หนดไว้ รวมทั้งต้องการทราบว่า มีปัญหาและอุปสรรคในการบริหาร
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนหรือไม่ อย่างไร เพื่อจะได้แก้ไขให้ทันท่วงที กรณีของผู้บริหารและ
ผู้สนับสนุนอาจต้องการให้มีการประเมินผลสรุปรวม (summative evaluation) เพื่อต้องการทราบว่า เกิด
สมั ฤทธผิ ลตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู รหรอื ไม่ และมจี ดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของหลกั สตู รอยา่ งไร การทีผ่ ูป้ ระเมนิ
ได้ทราบความต้องการประเภทของการประเมินจากผู้เกี่ยวข้องกับหลักสูตรก็จะทำ�ให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนเพื่อ
การออกแบบและวางแผนการประเมินให้ตอบสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวได้ชัดเจนมากขึ้น
2.3 ท�ำ ไมจงึ ตอ้ งการการประเมนิ โดยทัว่ ไปเหตผุ ลทีต่ อ้ งมกี ารประเมนิ หลกั สตู รไมใ่ ชต่ อ้ งการ
ให้ได้ข้อสรุปผลการประเมินที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ แต่ส่วนมากเป็นเหตุผลทางการเมืองที่ต้องการน�ำ ผล
การประเมนิ ไปใชส้ นบั สนนุ การตดั สนิ ใจอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ในเชงิ การบรหิ าร โดยผูบ้ รหิ ารตอ้ งการใชส้ ารสนเทศ
จากการประเมินเพื่อการเสริมสร้างความชอบธรรมสำ�หรับการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตร และต้องการทราบ
ผลกระทบของหลักสูตรที่มีต่อองค์การที่ให้การสนับสนุนซึ่งมีผลดีในทางการเมือง ดังนั้น ผู้ประเมินที่มี
ประสิทธิภาพจึงต้องให้ความสำ�คัญอย่างมากกับการวิเคราะห์เหตุผลที่ทำ�ให้ต้องทำ�การประเมินหลักสูตร ซึ่ง
มปี ระเดน็ ที่อาจตอ้ งพจิ ารณา คอื ผูบ้ รหิ าร ผูป้ ฏบิ ตั ิงาน และผูส้ นบั สนนุ มพี นั ธกรณหี รอื รูส้ กึ ผูกพนั ทีจ่ ะน�ำ ผล
การประเมินไปใช้ในการตัดสินใจว่า ควรจะดำ�เนินการใช้หลักสูตรต่อไปหรือไม่ ควรจะขยายปรับปรุง พัฒนา
หรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร
2.4 ต้องการให้ทำ�การประเมินเมื่อใด เงื่อนไขสำ�คัญที่ผู้ประเมินต้องตัดสินใจว่า ควรทำ�การ
ประเมินหลักสูตรเมื่อใดนั้นก็คือ การกำ�หนดวันส่งมอบรายงานผลการประเมินให้ผู้ที่มีอำ�นาจมอบหมาย
ให้ดำ�เนินการประเมิน ซึ่งถ้าผู้ประเมินวางแผนการประเมินไม่รอบคอบ มีเวลาไม่เพียงพอในการพัฒนา
เครื่องมือประเมิน ก็อาจทำ�ให้ต้องใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ขาดความตรง (validity) และความเที่ยง
(reliability) ผู้ให้ข้อมูลอาจมีจำ�นวนน้อยเกินไปจนทำ�ให้ได้ข้อสรุปผลการประเมินที่ไม่น่าเชื่อถือ จาก