Page 61 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 61
การประเมินหลักสูตร 7-51
3.7.3 ประเด็นการประเมิน หรือตัวแปรศึกษาหรือตัวบ่งชี้การประเมินมีอะไรบ้าง
3.7.4 ช่วงระยะเวลาของการประเมินหรือช่วงระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ
ช่วงเวลาใด
3.8 นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการให้ความหมายหรืออธิบายคำ� วลี ประเด็นการประเมิน หรือ
ตัวแปรที่ศึกษาในหลักสูตรที่มุ่งประเมิน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้ประเมินและผู้เกี่ยวข้องกับ
การประเมินหลักสูตร รวมทั้งให้เกิดความชัดเจนและได้แนวทางในการวัดประเด็นการประเมิน หรือตัวแปร
ที่ศึกษา
3.9 วิธีการประเมิน ในส่วนนี้เป็นการกำ�หนดกรอบแนวคิดและแนวทางในการประเมิน ซึ่งได้
มาจากการออกแบบการประเมิน โดยควรระบุ รูปแบบหรือแนวทางการประเมิน แหล่งข้อมูลหรือผู้ให้ข้อมูล
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมิน โดยเขียน
ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการประเมินในแต่ละข้อ ประเด็นการประเมินและตัวบ่งชี้การประเมิน ซึ่ง
นิยมเขียนสรุปเป็นกรอบแนวทางการประเมินในรูปตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละส่วนประกอบ
ของโครงการประเมิน ดังตัวอย่างการกำ�หนดกรอบแนวทางการประเมินหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (พิชิต ฤทธิ์จรูญ และคณะ 2550: 40-48) ในตารางที่ 7.3
ตารางท่ี 7.3 กรอบแนวทางการประเมนิ หลกั สตู รหมวดวชิ าศึกษาทั่วไป มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร
วัตถุประสงคข์ อง ประเดน็ การประเมนิ แหลง่ ข้อมลู เครอื่ งมือ/วิธเี กบ็ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกณฑ์การประเมิน
การประเมนิ (ตวั แปร/ตวั บ่งช้ี) รวบรวมข้อมลู
1. เพื่อประเมิน 1) ค วามเหมาะสม คณะกรรมการ การสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ การสรุปเชิงเหตุผล
เนื้อหา (Content (Logical
องค์ประกอบ ของจำ�นวน บริหารหมวด (Focus Group Analysis) Approach) ตัดสิน
ตามความเห็น
เบื้องต้นของ หน่วยกิต วิชาการศึกษาทั่วไป Discussion) ส่วนใหญ่ของกลุ่ม
หลกั สตู รเกี่ยวกับ
1.1 โครงสร้าง
และเน้อื หา
รายวิชา 2) ค วามเหมาะสม อาจารย์ผู้สอน แบบสอบถาม ค่าเฉลี่ยและส่วน ค่าเฉลี่ยตามเกณฑ์
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่กำ�หนดไว้
ของรายวิชากับ
กลุ่มวิชา
3) ความครอบ- การสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์เนื้อหา การสรุปเชิงเหตุผล
ตัดสินตามความ
คลุมความทัน เห็นส่วนใหญ่ของ
กลุ่ม
สมัยของรายวิชา