Page 73 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
P. 73
การประเมินหลักสูตร 7-63
3.4 ด้านผลผลิต สรุปได้ ดังนี้
3.4.1 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 70 (ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป) ทั้ง 10 กลุ่มสาระ มีนักเรียนผ่านเกณฑ์มากที่สุดใน 9 กลุ่มสาระ
รอ้ ยละ 100 มนี กั เรยี นผา่ นเกณฑน์ อ้ ยทีส่ ดุ ในกลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ รอ้ ยละ 80 ส�ำ หรบั ชัน้ ประถม
ศกึ ษาปีที่ 6 นกั เรียนผ่านเกณฑท์ ัง้ 10 กลุม่ สาระ โดยมนี ักเรียนผา่ นเกณฑ์มากทีส่ ุดในกลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระประวัติศาสตร์ ร้อยละ 86.67 มีนักเรียนผ่านเกณฑ์น้อยที่สุดในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ร้อยละ 73.33
3.4.2 ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ
6 ร้อยละ 100 ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3.4.3 ความสามารถของผู้เรียนด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน พบว่านักเรียน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 และ 6 รอ้ ยละ 100 ผา่ นเกณฑ์ โดยมคี วามสามารถดา้ นการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น
อยู่ในระดับดี มากที่สุด ร้อยละ 85.00
3.4.4 สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ร้อยละ
100 ผ่านเกณฑ์ โดยมีสมรรถนะสำ�คัญในระดับดี มากที่สุด ร้อยละ 85.00
3.4.5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ
6 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับดีเยี่ยม ร้อยละ 100
3.5 ความพงึ พอใจตอ่ การใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษา พบวา่ โดยภาพรวม ผูบ้ รหิ าร ครผู ูส้ อน และ
กรรมการการศกึ ษามีความพงึ พอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอยูใ่ นระดับมาก เมื่อพิจารณาเปน็ รายดา้ น
พบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำ�ดับคือ การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ (ค่าเฉลี่ย 4.31 4.21 และ 4.10 ตามลำ�ดับ) และด้านที่มีค่าเฉลี่ย
ความพึงพอใจตํ่าสุดคือความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ของผู้เรียนเรียนรู้ (ค่าเฉลี่ย 3.68)
การวิพากษ์งานประเมิน
จุดเด่นของงานประเมิน การประเมินหลักสูตรครั้งนี้มีจุดเด่นหลายประการ ดังนี้
1. แนวคิดในการประเมิน มีการใช้รูปแบบการประเมินซิปเป็นกรอบแนวคิดในการประเมิน
ซึ่งใช้ในการกำ�หนดวัตถุประสงค์และประเด็นการประเมินที่ครอบคลุมทั้งการประเมินบริบท ปัจจัยเบื้องต้น
กระบวนการ และผลผลิตของหลักสูตร
2. การออกแบบการประเมินหลักสูตร มีการออกแบบการประเมินหลักสูตรที่ครอบคลุม
ทั้ง 3 องค์ประกอบ คือ การออกแบบการวัดตัวแปรโดยการกำ�หนดประเด็นการประเมินหรือตัวแปรที่ศึกษา
ครอบคลุมชัดเจน ทั้งประเด็นการประเมินบริบท (ซึ่งน่าจะเรียกว่า องค์ประกอบของหลักสูตรมากกว่าบริบท)
ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการการใช้หลักสูตร และผลผลิตของหลักสูตร และกำ�หนดเครื่องมือ/วิธีการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู ไดเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของตวั แปรทีจ่ ะวดั การออกการสุม่ กลุม่ ตวั อยา่ งโดยก�ำ หนดผูใ้ หข้ อ้ มลู
ได้ครอบคลุม และออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล โดยกำ�หนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและเลือกใช้สถิติวิเคราะห์
ได้เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล