Page 30 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 30

ตารางท่ี 1.1 สาระส�ำคญั และแนวคดิ ทางการศกึ ษาของปรชั ญาการศกึ ษาสาขาตา่ ง ๆ                                                        1-20 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

สรุปเปรียบเทียบปรัชญาการศึกษาสาขาต่าง ๆ

                                   สาระส�ำคญั                                                                      แนวคิดทางการศกึ ษา

ปรชั ญาสาขา  ภววิทยา               ญาณวิทยา              คณุ วิทยา                 โรงเรยี น          หลักสูตร             การเรียนการสอน       การสร้างอปุ นสิ ัย
                                                                              ส่ิงแวดล้อมท่ีเสริม                                                 และรสนิยม
                                                                              สร้างความคิดและ
มโนคตินิยม   เป็นโลกแห่งจิต        ความรู้เป็นมโนคติ จริยธรรม คือ การ         อุดมคติ ให้ยึดม่ันใน    เนื้อหาวิชาที่เป็น   การบรรยาย ท่องจ�ำ    ปลูกฝังจริยธรรม
             เป็นนามธรรม มีแบบ     ไม่เปล่ียนแปลง เลียนแบบส่ิงท่ีเป็น         ขนบประเพณี              สัญลักษณ์เพื่อเสริม  และการค้นคว้าจาก     โดยการเลียนแบบ
             ท่ีเป็นสากล เป็นจริง  อาศัยจิต ในการหยั่งรู้ อุดมคติ                                     สร้างความคิด เช่น    ต�ำรา มีครูเป็น      อย่างท่ีดีจาก
             ในตัวเอง                                                         สิ่งแวดล้อมท่ีส่งเสริม  ภาษา วรรณคดี         แม่พิมพ์ ท้ังด้าน    บรรพบุรุษ วีรบุรุษ
             ไม่เปล่ียนแปลง                           คุณค่าทาง               การเรียนรู้ความจริง     ประวัติศาสตร์        ความรู้และความ       ปฏิบัติตาม
                                                      สุนทรียภาพ คือ          ตามธรรมชาติโดย                               ประพฤติ ช้ันเรียน    ขนบประเพณีและ
                                                      ความงามในอุดมคติ        อาศัยกฎธรรมชาติ                              และห้องสมุดเป็น      ค�ำสอนของผู้ใหญ่
                                                                              เป็นหลัก                                     ศูนย์กลางการเรียน    ด้านสุนทรียภาพเน้น
                                                                                                                           การสอน               การศึกษาผลงาน
                                                                                                                                                ศิลปกรรมส�ำคัญ
                                                                                                                                                ฝึกให้จ�ำ ลอก และ
                                                                                                                                                เลียนแบบส่ิงท่ีดี

ประจักษ์     เป็นโลกแห่งวัตถุ หรือ ความรู้เป็นข้อเท็จจริง จริยธรรม คือ การ                            เนื้อหาวิชาทาง       เรียนจากของจริง ปลูกฝังให้ปฏิบัติตาม
นิยม         สสารท่ีมีอยู่ตาม ท่ีมีอยู่ตามสภาวะทาง ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์                                  กายภาพและ            ใช้วิธีการสาธิต สังเกต กฎธรรมชาติให้มี
             สภาวะทางธรรมชาติท่ี ธรรมชาติ เป็นข้อเท็จ ทางธรรมชาติ คุณค่า                              วิทยาศาสตร์          ทัศนศึกษาเพื่อให้เข้า ความซาบซึ้งในความ
             สามารถจะรับรู้ได้ด้วย จริงที่สังเกตได้ ใช้การ ทางสุนทรียะ คือ                            ธรรมชาติเน้นวิชา ถึงสภาพความรู้จริง งามตามธรรมชาติและ
             ผัสสะ สังเกตและการทดลอง การสะท้อนให้เห็นถึง                                              วทิ ยาศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ตามธรรมชาติ ครูเป็น สร้างสรรค์ศิลปกรรม
                                   โดยวิธีทาง            ธรรมชาติท่ีเป็นจริง                          และคณิตศาสตร์ ส่ือกลางในการสอน ที่สะท้อนภาพ
                                   วิทยาศาสตร์ เป็นวิธี                                                                    ความสามารถในการ ธรรมชาติ
                                   การเข้าถึงความรู้                                                                       สาธิต การอธิบายและ
                                                                                                                           การใช้อุปกรณ์การ
                                                                                                                           สอนเป็นเรื่องส�ำคัญ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35