Page 31 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 31

ตารางที่ 1.1 (ตอ่ )

                                 สาระส�ำคญั                                                                            แนวคดิ ทางการศกึ ษา

ปรชั ญาสาขา          ภววทิ ยา    ญาณวทิ ยา            คณุ วิทยา          โรงเรยี น                          หลักสูตร            การเรียนการสอน           การสรา้ งอุปนิสยั
                                                                                                                                                           และรสนิยม

ประสบการณ์ ความเป็นจริงขึ้นอยู่  ความรู้เป็นผลจาก จริยธรรมเป็นสิ่งที่ดี  โรงเรียนเป็นสังคม                  เน้นวิชาท่ีจะเสริม  ยึดผู้เรียนเป็น          ฝึกให้รู้จักตัดสินใจ
นิยม กับประสบการณ์ของ            ประสบการณ์ของ งามท่ีสังคมโดย            ย่อยที่จ�ำลองแบบ                   สร้างประสบการณ์     ศูนย์กลาง ใช้วิธีการ     และยึดถือความเห็น
                                 มนุษย์ เปล่ียนแปลง ส่วนรวมยอมรับ        สังคมใหญ่ สร้าง                    ของสังคมโดยเฉพาะ    แก้ปัญหาและการ           ของคนส่วนใหญ่ โดย
            มนุษย์และเป็นส่ิง    ได้ไม่คงที่ ความรู้ คุณค่าทางสุนทรียะ   ส่ิงแวดล้อมที่ส่งเสริม             วิชาสังคมศึกษา      ทดลองค้นคว้าให้ท�ำ       ค�ำนึงถึงผลในทาง
            เปล่ียนแปลง ไปตาม    ท่ีแท้จริงต้องใช้ ข้ึนอยู่กับรสนิยมของ  ให้เกิดประสบการณ์                                      กิจกรรมเป็นหลัก ครู      ปฏิบัติ ที่จะมีต่อส่วน
            ประสบการณ์           ประโยชน์ได้ รู้โดยวิธี คนส่วนใหญ่       ต่อเน่ือง                                              เป็นผู้ช่วย ให้ผู้เรียน  รวม ให้มีส่วนร่วมใน
            ไม่ตายตัว            การแก้ปัญหาและการ                                                                              ด�ำเนินกิจกรรม           กิจกรรมทางศิลปะ
                                 เสริมสร้าง                                                                                                              เพื่อให้เกิดประสบ-
                                 ประสบการณ์ต่อเน่ือง                                                                                                     การณ์ที่เหมาะสม

อตั ถิภาวนิยม ความเป็นจริง คือ ความรู้ไม่ใช่สิ่งท่ี   จริยธรรมเป็นเสรีภาพ จดั สง่ิ แวดลอ้ มหลาย ๆ จัดให้มีวิชาเลือกเพ่ือ        ฝึกให้ผู้เรียนรู้จัก ฝึกให้มีความส�ำนึก
            สภาวการณ์ท่ีมีอยู่เป็น ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า  ของแต่ละคนท่ีจะ แบบเพื่อให้ผู้เรียน ส่งเสริม เสรีภาพใน                    เลือกอย่างมีความ ในเสรีภาพในการ
            อยู่ ความเป็นจริงเป็น เป็นผลแห่งการเลือก  เลือกปฏิบัติ       เลือกตามเสรีภาพของ การเลือกอย่างกว้าง                  รับผิดชอบ กระตุ้นให้ เลือกแนวทาง
            ส่ิงท่ีมนุษย์เลือกและ ของบุคคลแต่ละคน     สุนทรียภาพอยู่ท่ี แต่ละบุคคล                          ขวาง เน้นวิชาศิลปะ  แต่ละคนใช้เสรีภาพ จริยธรรมอย่างมี                ปรัชญา ทฤษฎีและแนวคิดทางการศึกษา 1-21
            ก�ำหนด                                    ความพอใจและการ                                        และปรัชญา           ในการเลือกอย่าง ความรับผิดชอบ
                                                      เลือกของแต่ละคน                                                           ถูกต้องเหมาะสม ครู ฝึกฝนให้สร้างงานทาง
                                                      โดยไม่ยึดถือจารีต                                                         เป็นผู้ช่วยกระตุ้นให้ ศิลปะตามแนวคิดของ
                                                      ประเพณี                                                                   ผู้เรียนต่ืนตัวและช่วย ตนเองอย่างเสรี
                                                                                                                                ให้ผู้เรียนเห็นแนวทาง
                                                                                                                                ในการเลือก

ทมี่ า: 	วิจิตร ศรีสอ้าน (2543) “ปรัชญาการศึกษาร่วมสมัย” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาพ้ืนฐานการศึกษา หน่วยท่ี 7.

                                 หลังจากศึกษาเน้ือหาสาระเร่ืองท่ี 1.1.2 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 1.1.2
                                         ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 1 ตอนที่ 1.1 เรื่องที่ 1.1.2
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36