Page 17 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 17
มาตรฐานวิชาชีพครูและสมรรถนะครู 13-7
เร่ืองที่ 13.1.1 เกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพครู
วิชาชีพทางการศึกษาเป็นเป็นวิชาชีพควบคุม ตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2546 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพทางการศึกษา นับว่าเป็นความก้าวหน้าของวิชาชีพทางการศึกษา
และเป็นการยกระดับมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาให้สูงขึ้น อันจะเป็นผลต่อผู้รับบริการทางการศึกษาที่จะ
ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพและมีมาตรฐานที่สูงข้ึนด้วย ซ่ึงจะท�ำให้วิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพทาง
การศึกษาได้รับความเชื่อถือ ศรัทธา มีเกียรติ และศักด์ิศรีในสังคม (ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2548)
วิชาชีพครูได้รับการยกย่องให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เนื่องจากมีลักษณะตามลักษณะการเป็นวิชาชีพช้ันสูง ได้แก่
วิชาชีพครูมีลักษณะเฉพาะ เป็นบริการท่ีจ�ำเป็นต่อการพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นสมาชิกที่มีคุณภาพ โดย
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครไู ดร้ บั การศกึ ษาอบรมมาอยา่ งเพยี งพอ ประกอบวชิ าชพี ดว้ ยวธิ กี ารแหง่ ปญั ญา ตอ้ งอาศยั
ทง้ั ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการจดั การเรยี นรู้ มอี สิ ระในการใชว้ ชิ าชพี ครตู ามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี มจี รรยาบรรณ
ของวิชาชีพ รวมทั้งต้องมีสถาบันวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพเป็นแหล่งกลางในการสร้างสรรค์จรรโลงวิชาชีพ
เกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี
วิชาชีพครูจะได้รับการยกย่องว่าเป็นวิชาชีพช้ันสูง การปฏิบัติตนของครูต้องเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานของวิชาชีพ เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับของคุรุสภา จะเป็นเกณฑ์ในการปฏิบัติงานของ
ผู้ประกอบวิชาชีพ และต้องเป็นมาตรฐานท่ีก�ำหนดโดยองค์กรหรือสมาคมทางวิชาชีพและมีคณะกรรมการ
วิชาชีพเป็นผู้ด�ำเนินการ
เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู เป็นเกณฑ์ในการปฏิบัติตนและปฏิบัติหน้าท่ีของผู้ประกอบวิชาชีพครู
เพื่อประกันคุณภาพการท�ำงานและการเป็นครู และยังใช้เป็นเคร่ืองมือท่ีในการควบคุม การเปรียบเทียบ
การวัด การประเมิน และการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและวิธีด�ำเนินงานของครู โดยมีคุรุสภาเป็นองค์กร
ที่ก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ซึ่งคุรุสภาเป็นองค์กรวิชาชีพทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติสภาครู
และบุคลากรทางการศึกษา 2546 ที่มีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพครู ที่จัดตั้งข้ึนตามพระราช-
บัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ให้ปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ เพ่ือการส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีครู
คุรุสภาได้ก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ประกอบด้วยเกณฑ์ 4 ด้าน คือ
รอบรู้ สอนดี มีคุณธรรมจรรยาบรรณ มุ่งม่ันพัฒนา และได้เผยแพร่เกณฑ์ดังกล่าวไปยังครูและหน่วยงานที่
เก่ียวข้องเพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติ เน่ืองจากเกณฑ์ดังกล่าวมีลักษณะเป็นนามธรรมยากแก่การปฏิบัติและ
การประเมิน จึงไม่มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติตามเกณฑ์เท่าที่ควร ใน พ.ศ. 2537 คุรุสภาได้พัฒนาเกณฑ์
มาตรฐานวิชาชีพครู จากเดิม 4 ด้าน เป็น 11 ข้อ เกณฑ์มาตรฐานนี้มีเนื้อหาครอบคลุมเกณฑ์เดิม สามารถ
ปฏิบัติและประเมินพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาของครูได้ ซ่ึงเป็นพฤติกรรมท่ีครูผลักดันจากคุณภาพภายใน
ตัวครู เกณฑ์มาตรฐานท้ัง 11 ข้อนี้ก�ำหนดข้ึนบนพ้ืนฐานว่าเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ ครูจึงต้องค�ำนึงถึง