Page 23 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 23

มาตรฐานวิชาชีพครูและสมรรถนะครู 13-13

            มาตรฐานท่ี 8 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียน
            การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน หมายถึง การแสดงออก การประพฤติ และปฏิบัติ
ในด้านบุคลิกภาพทั่วไป การแต่งกาย กิริยา วาจา และจริยธรรมที่เหมาะสมกับความเป็นครูอย่างสม่�ำเสมอ
ที่ท�ำให้ผู้เรียนเล่ือมใสศรัทธาและถือเป็นแบบอย่าง
            มาตรฐานที่ 9  ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
            การร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความส�ำคัญ
รับฟังความคิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของเพื่อน
ร่วมงานด้วยความเต็มใจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา และร่วมรับผลท่ีเกิดขึ้นจากการกระท�ำน้ัน
            มาตรฐานที่ 10 ร่วมมือกับผู้อ่ืนในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
            การรว่ มมอื กบั ผอู้ น่ื ในชมุ ชนอยา่ งสรา้ งสรรค์ หมายถงึ การตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั รบั ฟงั ความ
คิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถของบุคคลอ่ืนในชุมชน และร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อพัฒนางานของ
สถานศึกษา ให้ชุมชนและสถานศึกษามีการยอมรับซึ่งกันและกัน และปฏิบัติงานร่วมกันด้วยความเต็มใจ
            มาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
            การแสวงหาและใชข้ อ้ มลู ขา่ วสารในการพฒั นา หมายถงึ การคน้ หา สงั เกต จดจำ�  และรวบรวม
ข้อมูลข่าวสารตามสถานการณ์ของสังคมทุกด้าน โดยเฉพาะสารสนเทศเก่ียวกับวิชาชีพครู สามารถวิเคราะห์
วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และใช้ข้อมูลประกอบการแก้ปัญหา พัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาสังคมได้
อย่างเหมาะสม
            มาตรฐานที่ 12 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์
            การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ หมายถึง การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้
โดยการน�ำเอาปัญหาหรือความจ�ำเป็นในการพัฒนาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในการเรียนและการจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ ใน
โรงเรียนมาก�ำหนดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาของผู้เรียนท่ีถาวร เป็นแนวทางในการ
แกป้ ญั หาของครอู กี แบบหน่งึ ท่จี ะน�ำเอาวกิ ฤตต่าง ๆ มาเปน็ โอกาสในการพฒั นา ครจู �ำเปน็ ตอ้ งมองมุมต่าง ๆ
ของปญั หาแลว้ ผนั มมุ ของปญั หาไปในทางการพัฒนา ก�ำหนดเปน็ กจิ กรรมในการพัฒนาของผู้เรยี น ครจู ึงตอ้ ง
เป็นผู้มีมองมุมบวกในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ กล้าที่จะเผชิญปัญหาต่าง ๆ มีสติในการแก้ปัญหา มิได้
ตอบสนองปัญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์หรือแง่มุมแบบตรงตัว ครูสามารถมองหักมุมในทุก ๆ โอกาส มองเห็น
แนวทางที่น�ำสู่ผลก้าวหน้าของผู้เรียน
       3.	 มาตรฐานการปฏบิ ตั ติ นหรอื จรรยาบรรณของวชิ าชพี หมายถงึ จรรยาบรรณของวชิ าชพี ทกี่ ำ� หนด
ข้ึน เป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพ่ือรักษาและ
สง่ เสรมิ เกยี รตคิ ณุ ชอื่ เสยี ง และฐานะของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ทเี่ ชอ่ื ถอื ศรทั ธาแกผ่ รู้ บั บรกิ าร
และสังคม อันจะน�ำมาซ่ึงเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ประกอบด้วย
            (1) จรรยาบรรณต่อตนเอง ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนา
ตนเองดา้ นวิชาชพี บุคลกิ ภาพ และวสิ ัยทศั น์ ใหท้ นั ต่อการพัฒนาทางวทิ ยากร เศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง
อยู่เสมอ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28