Page 50 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 50

13-40 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

เร่อื งท่ี 13.3.2 วิธกี ารประเมินสมรรถนะครู

       การประเมนิ สมรรถนะครู เปน็ การตดั สนิ และตคี า่ ความสามารถของครเู มอ่ื เปรยี บเทยี บกบั มาตรฐาน
ซ่ึงมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาครูและเป็นข้อมูลในการก�ำหนดแนวทางการพัฒนาครู รวมทั้งยังมีผลต่อความ
ก้าวหน้าทางวิชาชีพ การได้เล่ือนวิทยฐานะ ดังนั้น ครูและผู้ประเมินควรจะต้องท�ำความเข้าใจเคร่ืองมือและ
วิธีการประเมินให้ชัดเจน โดยผู้ท่ีท�ำการประเมินสมรรถนะครูจะต้องทราบผลการประเมินสมรรถนะในแต่ละ
ด้านของครู ก่อนท่ีจะตัดสินในภาพรวมว่าครูมีศักยภาพในภาพรวมเป็นอย่างไร มีสมรรถนะใดท่ีต้องได้รับ
การพัฒนา ส�ำหรับครูจ�ำเป็นต้องเข้าใจวิธีการประเมิน เพื่อที่จะได้เตรียมตัวรองรับการประเมินและรับทราบ
ผลการประเมนิ เพอื่ วางแผนการพฒั นาตนเองในอนาคต ในทนี่ จ้ี ะกลา่ วถงึ วธิ กี ารประเมนิ สมรรถนะโดยทว่ั ไป
และวิธีการประเมินสมรรถนะครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1.	 วิธกี ารประเมินสมรรถนะโดยท่วั ไป

       วิธีการประเมินสมรรถนะของแต่ละองค์กรนั้น อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการ
ประเมินสมรรถนะ เช่น การประเมินผลงานประจ�ำปี การประเมินเพ่ือพัฒนาบุคลากร หรือการประเมิน
เพื่อสรรหาบุคลากร เป็นต้น ความพร้อมของบุคลากร ตลอดจนทรัพยากรและเวลา วิธีการประเมินสามารถ
ท�ำได้หลายวิธีและใช้เครื่องมือประเมินท่ีหลากหลาย (ส�ำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล, 2552;
ขจรศักด์ิ ศิริมัย, 2554 ข) ดังนี้

       1)	 การประเมินโดยใช้แบบทดสอบ (test knowledge and skill) เป็นการประเมินที่ใช้ส�ำหรับวัด
ความรู้ความสามารถหรือทักษะตามสมรรถนะที่ก�ำหนดโดยใช้แบบทดสอบ เช่น แบบปรนัย โดยให้ผู้เข้า
ทดสอบเลอื กตอบขอ้ ทถ่ี กู ทสี่ ดุ หรอื แบบอตั นยั โดยใหผ้ เู้ ขา้ ทดสอบเขยี นอธบิ ายคำ� ตอบ แบบทดสอบประเภทนี้
ออกแบบมาเพ่ือวัดความสามารถของบุคคลที่สามารถท�ำได้ภายใต้เง่ือนไขของการทดสอบ อาจเป็นการวัด
ความสามารถทางสมองโดยท่ัวไป หรือความสามารถเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ หรือวัดความสามารถ
ทางด้านทักษะหรือความสามารถทางด้านร่างกาย

       2)	 การประเมนิ พฤตกิ รรมจากเหตกุ ารณห์ รอื สถานการณท์ ส่ี ำ� คญั ๆ (critical incident) เป็นเทคนิค
การประเมินสมรรถนะท่ีมุ่งเน้นให้ผู้ประเมินพฤติกรรมบันทึกพฤติกรรมหลัก ๆ จากเหตุการณ์หรือ
สถานการณ์ท่ีผู้ถูกประเมินแสดงพฤติกรรมและน�ำมาเปรียบเทียบกับระดับสมรรถนะท่ีคาดหวังว่าสูงหรือ
ต�่ำกว่า

       3)	 การเขยี นเรยี งความ (written essay) เป็นวิธีการประเมินที่ง่ายที่สุด โดยให้ผู้ถูกประเมิน เขียน
บรรยายผลการปฏิบัติงานในช่วงเวลาท่ีผ่านมาว่า ตนใช้ความรู้ ทักษะและพฤติกรรมอะไรบ้าง หลังจากนั้น
ผู้ประเมินจะวิเคราะห์พฤติกรรมจากเรียงความว่าผู้ถูกประเมินมีสมรรถนะแต่ละตัวอยู่ ระดับใด
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55