Page 66 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 66
13-56 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
ตารางท่ี 13.3 (ตอ่ ) เนือ้ หายอ่ ย ลกั ษณะเครื่องมือ จ�ำนวนข้อ
เนอ้ื หาหลัก
2. สมรรถนะตามสายงาน (functional 12
competency)
11
2.1 การบริหารจัดการหลักสูตร 8
และการจัดการเรียนรู้ 8
2.2 การพัฒนาผู้เรียน 12
8
2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัย
เพ่ือพัฒนาผู้เรียน
2.5 ภาวะผู้น�ำ
2.6 สร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือ
กับชุมชนเพ่ือการจัดการเรียนรู้
2.2.3 การประมวลผลข้อมูล การให้คะแนนการประเมินสมรรถนะครู การแปลผลการ
ประเมินสมรรถนะครู และการด�ำเนินการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การให้คะแนนการประเมินสมรรถนะครู มีรายละเอียดการให้คะแนน ดังน้ี
1) การให้คะแนนในแต่ละข้อรายการจะมีระดับคุณภาพของสภาพการปฏิบัติงาน 5
ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติน้อยที่สุด ปฏิบัติน้อย ปฏิบัติปานกลาง ปฏิบัติมาก และปฏิบัติมากที่สุด โดยก�ำหนด
ค่าคะแนนเป็น 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามล�ำดับ
2) การประมวลผลในแต่ละข้อรายการ ให้น�ำคะแนนท่ีประเมินจากครูผู้สอนประเมิน
ตนเอง เพื่อนครูประเมิน และผู้บริหารประเมิน มาค�ำนวณหาค่าฐานนิยม (mode) หรือค่ามัธยฐาน (median)
ในทางปฏบิ ตั ใิ หก้ รอกคะแนนทคี่ รผู สู้ อนประเมนิ ตนเอง เพอื่ นครปู ระเมนิ และผบู้ รหิ ารประเมนิ ดว้ ยโปรแกรม
วิเคราะห์สมรรถนะครู ของ สพฐ.
3) การประมวลผลในแต่ละสมรรถนะ ให้น�ำค่าฐานนิยม หรือ ค่ามัธยฐาน ในแต่ละข้อ
รายการ (ที่ได้จากข้อ 2) มาค�ำนวณหาค่าคะแนนเฉลี่ย (mean) แล้วน�ำเทียบกับเกณฑ์ในการแปลผลการ
ประเมินเพ่ือสรุปเป็นผลการประเมินรายสมรรถนะ