Page 69 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 69
มาตรฐานวิชาชีพครูและสมรรถนะครู 13-59
อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากเคร่ืองมือหรือแบบประเมินสมรรถนะท่ีส�ำนักพัฒนาครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การวัดศักยภาพและ
สมรรถนะของครูอาจจะใช้เคร่ืองมือหรือจากข้อมูลอ่ืน ๆ อีก เช่น
1) ข้อมูลประวัติการท�ำงาน
2) ผลการปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ทแี่ ละบทบาทอนื่ ๆ นอกเหนอื การทำ� งาน เชน่ การชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ เปน็ ตน้
3) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างหรือแบบไม่มีโครงสร้าง
4) แบบทดสอบต่าง ๆ เช่น แบบวัดความถนัด แบบทดสอบเชาวน์ปัญญา เป็นต้น
5) ผลการประเมินผู้ร่วมงานหรือผู้ร่วมงานหรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้เกี่ยวข้อง
6) การทดสอบความรู้ที่เป็นแบบทดสอบมาตรฐานตามต�ำแหน่งงาน
7) การทดสอบท�ำงานในต�ำแหน่งท่ีเกี่ยวข้อง
นอกเหนือจากนี้อาจมีวิธีอ่ืน ๆ ที่ใช้วัดและประเมินที่ใช้วัดและประเมินสมรรถนะต่าง ๆ ของครู ข้ึน
อยกู่ บั หนว่ ยงาน ซงึ่ ผลการประเมนิ สมรรถนะทง้ั หมดหรอื ภาพรวม คอื ศกั ยภาพของครผู ทู้ ถี่ กู ประเมนิ นน่ั เอง
อย่างไรก็ตาม เคร่ืองมือบางประเภทจะมีจุดอ่อนและจุดแข็งในบางด้าน ซ่ึงผู้ประเมินอาจจะใช้วิธีประเมิน
หลายวิธีร่วมกันก็ได้ ข้ึนอยู่กับบริบทต่าง ๆ ของการประเมิน ณ เวลานั้น และความเหมาะสมที่จะใช้กับ
หน่วยงานนั้น
ข้อสังเกตส�ำหรับการประเมินผลสมรรถนะต่าง ๆ พฤติกรรมย่อย ๆ ท่ีผู้ประเมินท�ำการประเมิน
ความสามารถจะต้องตรวจสอบโดยเทียบกับข้อความรายละเอียดของความสามารถและหลักฐานต่าง ๆ
การวัดความสามารถหรือสมรรถนะหรือสมรรถนะด้านต่าง ๆ ต้องเฉพาะเจาะจง และมองข้อมูลในแง่
ความเป็นจริงและให้ความส�ำคัญกับความเปลี่ยนแปลงแม้จะเกิดเพียงเล็กน้อยก็ตาม ผู้ประเมินจะต้อง
ประเมินตามมาตรฐานท่ีก�ำหนด เพ่ือสะท้อนความสามารถที่แท้จริง ข้อมูลของผู้ประเมินจะต้องเก็บไว้
อย่างดีและข้อมูลเหล่าน้ันต้องมีประโยชน์ส�ำหรับตัดสินใจ ผู้ประเมินที่ประเมินจากข้อมูลและเหตุการณ์ที่
เกิดข้ึนจริง จะท�ำให้ผลของการประเมินน่าเช่ือถือ และมีความตรง สามารถน�ำผลการประเมินมาใช้ประโยชน์
ได้อย่างมากมายต่อไป
หลงั จากศกึ ษาเนอ้ื หาสาระเรอื่ งท่ี 13.3.2 แลว้ โปรดปฏบิ ัติกจิ กรรม 13.3.2
ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 13 ตอนที่ 13.3 เรอื่ งท่ี 13.3.2