Page 72 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 72

13-62 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

2. 	แผนพฒั นาสมรรถนะตนเองของครู

       ความหมายโดยท่ัวไปของแผนการพัฒนาสมรรถนะตนเอง หมายถึง เอกสารท่ีจัดท�ำขึ้นเพ่ือเป็น
เครื่องมือท่ีช่วยให้บุคลากรสามารถพัฒนาตนเองให้บรรลุเป้าหมายอาชีพของตน เป็นการวางแผนอย่างเป็น
ระบบ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการพฒั นาตนเองรายบคุ คลและความตอ้ งการของหนว่ ยงานเปน็ แผนปฏบิ ตั กิ าร
ทพี่ ฒั นามาจาก ระดบั สมรรถนะทเี่ ปน็ ในปจั จบุ นั ไปสรู่ ะดบั สมรรถนะทต่ี อ้ งการ เปน็ แนวทางการพฒั นาตนเอง
อย่างเป็นระบบ เน้นการสร้างจุดแข็งและก�ำจัดจุดอ่อนของบุคคล (กลุ่มพัฒนาบุคลากร, 2553) ดังน้ัน
แผนพัฒนาสมรรถนะตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา คือ แผนปฏิบัติการ (action plan) จัดท�ำข้ึน
เพอ่ื ใชเ้ ปน็ กรอบหรอื แนวทางในการพฒั นาสมรรถนะตนเองใหม้ สี มรรถนะเปน็ ไปตามทคี่ าดหวงั หรอื มาตรฐาน
ท่ีก�ำหนด โดยคาดหวังว่าครูและบุคลากรทางการศึกษาจะสามารถน�ำสมรรถนะที่เพิ่มขึ้นจากการพัฒนามาใช้
ในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีในต�ำแหน่ง/สายอาชีพของตน ให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการศึกษา

       2.1		ลกั ษณะสำ� คญั ของแผนพฒั นาสมรรถนะตนเอง  แผนพัฒนาสมรรถนะตนเองควรเป็นกระบวน
การพัฒนาท่ีเกิดข้ึนระหว่างผู้บังคับบัญชาและบุคลากรคนน้ัน ในกรณีที่เป็นครูคือผู้บริหารสถานศึกษาและ
ตัวครู โดยจะต้องมีการสนทนาพูดคุยปรึกษาหารือกันถึงเป้าหมายการปฏิบัติงานในต�ำแหน่งน้ันอย่างชัดเจน
และควรระบุเป้าหมายในการพัฒนาสมรรถนะตนเองท้ังในระยะสั้น (1-2 ปี) และในระยะยาว (3 ปีข้ึนไป)
แผนพัฒนาสมรรถนะตนเป็นจึงมีลักษณะส�ำคัญ (ชัชรินทร์ ชวนวัน, 2550; ปราณี สังขะตะวรรธน์, 2550)
ดังนี้

            1)	เป็นแผนที่จัดท�ำขึ้นบนพื้นฐานของสมรรถนะ ซ่ึงต้องมีการก�ำหนดรายการสมรรถนะ
ประเมนิ หาความแตกตา่ งระหวา่ งสมรรถนะทต่ี อ้ งการ เปรยี บเทยี บกบั สมรรถนะทเี่ ปน็ จรงิ แลว้ จงึ นำ� ผลความ
แตกต่าง (gap analysis) หรือสมรรถนะส่วนที่ขาด มาก�ำหนดกิจกรรมพัฒนาตนเองด้วยรูปแบบหรือวิธีการ
ต่าง ๆ เช่น การมอบหมายงาน การฝึกอบรม การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นต้น

            2)	 เป็นแผนท่ีก�ำหนดหลักการจัดท�ำแบบให้มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับหัวหน้างานซ่ึง
เปน็ สว่ นหนง่ึ ของความพยายาทจี่ ะดำ� เนนิ การพฒั นาใหค้ รอบคลมุ ทว่ั ทง้ั องคก์ ร ทง้ั นเี้ พอื่ ใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจ
ต่องานที่ดีขึ้น รวมท้ังเป็นการสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือในการท�ำงานที่ดีอีกด้วย

            3)	 เป็นข้อตกลงและตัดสินใจให้เกิดการยอมรับร่วมกันระหว่างบุคลากรและหัวหน้างานใน
เร่ืองการพัฒนาสมรรถนะตนเอง

            4)	เป็นการสร้างแผนพัฒนาตนเองท่ีจะต้องมีการทบทวนค�ำอธิบายต�ำแหน่งงาน (job
description) ให้มีความชัดเจนด้วย หากไม่สามารถอธิบายขอบเขตงาน บทบาทหน้าท่ีในต�ำแหน่งได้อย่าง
ถูกต้องแม่นย�ำแล้ว แผนพัฒนาสมรรถนะตนเองจะเป็นเพียงข้อตกลงในการปฏิบัติงานเท่าน้ัน ไม่สามารถใช้
แก้ปัญหาการพัฒนาสมรรถนะให้สอดคล้องกับงานที่ท�ำได้

       2.2		การจัดทำ� แผนพฒั นาสมรรถนะตนเองของครู ข้ันตอนการจัดท�ำแผนพัฒนาตนเอง โดยท่ัวไป
ก�ำหนดเป็น 5 ขั้นตอน (ชัชรินทร์ ชวนวัน, 2550; 2554) คือ

            1)	การประเมินสมรรถนะตนเอง (conducting self-assessment)
            2)	การพบปะ/ประชมุ รว่ มกบั ผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษา (meeting with a career counselor or advisor)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77