Page 53 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 53

วิถีครู ความเป็นครู และการพัฒนาวิชาชีพครู 14-43

ในอนาคต ประสบการณ์ทั้งเชิงบวกและเชิงลบนี้อาจเป็นประสบการณ์ของตนเองหรือเป็นประสบการณ์ของ
บุคคลอ่ืนที่รับรู้ผ่านทางสื่อต่าง ๆ การอ่าน การฟัง และประสบการณ์ตรง 	

            1.1.2 	การมผี ชู้ แี้ นะทางปญั ญา บุคคลท่ีผู้น�ำทางปัญญามีปฏิสัมพันธ์ด้วย ไม่ว่าบุคคลน้ันจะมี
ฐานะทางเศรษฐกิจสังคม อยา่ งไรกต็ าม จัดได้วา่ บคุ คลนั้นมสี ว่ นในการช้ีแนะใหเ้ กิดปญั ญา โดยท่ัวไปผ้ชู ีแ้ นะ
จะเป็นบุคคลท่ีให้ข่าวสาร แนะน�ำ ส่ังสอน อบรม ชักจูงไปในทางท่ีดีงาม ช่วยให้ได้ประสบการณ์การเรียนรู้
จากแหล่งความรู้ความคิดท่ีถูกต้อง และช่วยช้ีแนะในการใช้ปัญญาท่ีต้องใช้กระบวนการที่ซับซ้อน

       1.2 	การฝึกการคดิ การฝึกการคิดมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาปัญญาอย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1) ช่วย
ในการคิดเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ท่ีรับเข้ามาจากปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมภายนอก ซึ่งเป็นท้ังการคิด
เชื่อมโยงข้อมูลหลากหลายจากต่างแหล่งต่างวาระ รวมท้ังการคิดเก่ียวกับประสบการณ์หรือการชี้แนะท่ีอาจ
ชักจูงไปในทางที่ไม่เหมาะสม 2) ช่วยในการคิดเพ่ือน�ำความรู้มาใช้ประโยชน์ตามงานหรือวัตถุประสงค์เฉพาะ
เรื่อง และ 3) ช่วยในการพัฒนาปัญญาด้านที่มีความโดดเด่นอยู่แล้วและด้านที่ยังไม่โดดเด่นให้มีศักยภาพ
ส�ำหรับใช้งาน

       การฝกึ การคดิ ทด่ี ี คอื การคดิ ใหถ้ กู ตอ้ งตามขนั้ ตอนของการคดิ แตล่ ะแบบ ผนู้ ำ� ทางปญั ญาอาจเลอื ก
วิธีคิดที่ใช้ในการท�ำงานแล้วฝึกทักษะย่อย ๆ ตามขั้นตอนการคิด ตามตัวอย่างดังต่อไปนี้

            1.2.1 การคิดอย่างมเี หตุผล มีวิธีคิดดังน้ี (ทิศนา แขมมณี, 2545ก: 52)
                1) 	จ�ำแนกข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงและความคิดเห็นออกจากกัน
                2) 	พิจารณาเร่ืองท่ีคิดบนพ้ืนฐานของข้อเท็จจริงโดยใช้หลักเหตุผล
                     (1) 	แบบนริ นัย คือ คิดจากหลักท่ัวไป ไปสขู่ อ้ เทจ็ จริง
                     (2) 	แบบอุปนยั คือ คดิ จากขอ้ เท็จจรงิ ยอ่ ย ๆ ไปสู่หลกั การ

            1.2.2 	การคดิ แบบอรยิ สจั จ์ เป็นวิธีคิดแบบแก้ปัญหาท่ีตรงประเด็นเพ่ือดับปัญหาหรือดับทุกข์
โดยคิดตามเหตุและผล มีวิธีคิดดังนี้ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), 2547: 56-57)

                1) 	ข้ันทุกข์ ทุกข์ คือ สภาพปัญหา ความติดขัด จึงต้องท�ำความเข้าใจว่าปัญหาคืออะไร
และก�ำหนดขอบเขตของปัญหาให้ชัดเจน

                2) 	ขั้นสมุทัย คือ การคิดหาสาเหตุของปัญหา
                3)	ข้ันนิโรธ คือ การก�ำหนดสภาพพึงประสงค์ท่ีไม่มีปัญหาข้างต้น หรือก�ำหนดจุด
ประสงค์และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของจุดมุ่งหมายน้ัน ก�ำหนดจุดมุ่งหมายย่อย ก�ำหนดหลักการ และ
กระบวนการไปสู่จุดมุ่งหมายน้ัน 	
                4) 	ขั้นมรรค คือ การก�ำหนดวิธีการและรายละเอียดเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายที่ก�ำหนดไว้
            1.2.3 การคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), 2547:11, 31-42) โยนิโส-
มนสิการ แปลว่า การท�ำในใจโดยแยบคาย หมายถึง การคิดถูกวิธี การรู้จักคิด การคิดเป็น การคิดอย่างมี
ระเบียบตามแนวทางของปัญญา โดยไม่เอาตัณหาอุปาทานของตนเองเข้าจับหรือเคลือบคลุมให้เกิดความ
ดงี ามและแกป้ ญั หาได้ โดยมกี ารคดิ แบบอรยิ สจั จเ์ ปน็ วธิ คี ดิ แบบหนง่ึ ในการคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร การเขา้ ใจ
การคิดแบบโยนิโสมนสิการแบ่งได้เป็น 2 ประเด็น ดังน้ี
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58