Page 54 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 54
14-44 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
1) แนวทางการคิดแบบโยนิโสมนสิการ แบ่งเป็น 4 แนวทาง ได้แก่
(1) อบุ ายมนสิการ แปลวา่ คดิ หรือพจิ ารณาโดยอุบาย หรือคิดอยา่ งมีวธิ ี คดิ ถกู วธิ ี
ทจี่ ะเข้าถึงความจรงิ สอดคล้องกับสัจจะ ทำ� ใหห้ ยัง่ รู้ลกั ษณะของสง่ิ ท้ังหลาย
(2) ปถมนสิการ แปลวา่ คิดเป็นทางหรอื คิดถกู ทาง คอื คิดได้ต่อเนื่องเปน็ ล�ำดบั
จัดล�ำดับไดห้ รือมลี �ำดับ มขี ัน้ ตอน แล่นไปเป็นแถวเป็นแนว ไม่ย่งุ เหยงิ สับสน รวมท้ังชกั ความนึกคดิ ให้เข้าสู่
แนวทางท่ีถูกต้อง
(3) การณมนสิการ แปลวา่ คิดตามเหตุ คดิ คน้ เหตุ คดิ ตามเหตุผลหรือคดิ อย่างมี
เหตุผล หมายถงึ พิจารณาสบื สาวหาสาเหตุใหเ้ ขา้ ใจถึงต้นเคา้ หรอื แหลง่ ท่ีมาซง่ึ ส่งผลต่อเนือ่ งมาตามลำ� ดับ
(4) อปุ ปาทกมนสกิ าร แปลวา่ คดิ ใหเ้ กดิ ผล คอื ใชค้ วามคดิ ใหเ้ กดิ ผลทพี่ งึ ประสงค์
เล็งถงึ การคิดอย่างมเี ปา้ หมาย พจิ ารณาให้เกดิ กศุ ลธรรม คิดในทางทที่ �ำใหห้ ายหวาดกลวั หายโกรธ เป็นการ
พจิ ารณาทีท่ ำ� ให้มสี ติหรือทำ� ใหจ้ ติ ใจเขม้ แขง็ มัน่ คง
2) วิธคี ดิ วธิ คี ิดตามแนวทางข้างตน้ ซ่ึงเปน็ วธิ คี ดิ เท่าท่ีพบแลว้ ในบาลี มี 10 แบบใหญ่ ๆ
ดังน้ี
(1) วธิ คี ิดแบบสืบสาวเหตุปจั จัย
(2) วธิ ีคิดแบบแยกแยะสว่ นประกอบ
(3) วธิ คี ดิ แบบสามญั ลกั ษณ์
(4) วิธคี ดิ แบบอริยสัจจ/์ คิดแบบแกป้ ัญหา
(5) วิธคี ิดแบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์
(6) วธิ คี ดิ แบบเหน็ คุณโทษและทางออก
(7) วิธคี ิดแบบรู้คณุ คา่ แท้-คุณคา่ เทยี ม
(8) วิธีคดิ แบบเรา้ คุณธรรม
(9) วิธคี ิดแบบอย่กู ับปจั จุบนั
(10) วธิ คี ิดแบบวภิ ชั ชวาท
วิธีคิดแต่ละวิธีจะมีหลักการและข้ันตอนท่ีแตกต่างกัน เช่น 1) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
แบ่งเป็น ขั้นคิดวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่สัมพันธ์กับเรื่องน้ัน และข้ันการคิดสอบสวนหรือการต้ังค�ำถาม 2) วิธีคิด
แบบสามัญลักษณ์แบ่งเป็น ข้ันรู้เท่าทันและยอมรับความจริง แก้ไข และท�ำการไปตามเหตุปัจจัย
1.3 การปฏบิ ตั ิ การปฏิบัติเป็นการน�ำส่ิงท่ีเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์และการคิดไปปฏิบัติให้เกิดผลตาม
ทคี่ าดหวงั การปฏบิ ตั เิ พอ่ื พฒั นาปญั ญาทสี่ ำ� คญั ในปจั จบุ นั คอื การจดั การความรู้ (knowledge management)
(วิจารณ์ พานิช, 2548: 3-4, 93 และวิจารณ์ พานิช, 2549: 60-61) ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือเพ่ือการบรรลุ
เป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการ คือ เป้าหมายของงาน การพัฒนาคน การพัฒนาองค์กร และความเป็นหมู่
คณะ ความรู้ท่ีเก่ียวข้องในการจัดการความรู้เป็นทั้งความรู้ท่ีชัดแจ้งในรูปของตัวหนังสือหรือรหัสอย่างอื่นที่
เข้าใจได้ทั่วไป (explicit knowledge) และความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) ท่ีอยู่ในคนทั้งท่ีอยู่ในใจ
(ความเชื่อ ค่านิยม) ในสมอง (เหตุผล) ในมือและส่วนอ่ืน ๆ ของร่างกาย (ทักษะในการปฏิบัติ) การจัดการ
ความรู้ให้เกิดปัญญามีการด�ำเนินการต่อความรู้ 6 ประการ ดังนี้