Page 59 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 59
วิถีครู ความเป็นครู และการพัฒนาวิชาชีพครู 14-49
2) เตรียมการในการแสดงอารมณ์ โดยการตั้งใจว่าจะท�ำอะไรเพื่อให้เกิดผลดี และไม่
ท�ำอะไรท่ีท�ำให้เกิดผลลบ และเมื่อเผชิญกับสถานการณ์จะต้องรู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง ไม่ปล่อยให้ถูก
กระตุ้นจนระดับอารมณ์สูงแล้วแสดงออกตามความเคยชิน
3) ฝกึ สติ เม่ือเขา้ ไปในสถานการณ์ที่กระตนุ้ อารมณ์ ตอ้ งต้ังสติให้ร้วู า่ เราก�ำลงั มอี ารมณ์
เกิดขึ้น เพื่อจะได้ไม่แสดงออกอย่างท่ีตั้งใจว่าจะไม่ท�ำ แล้วแสดงพฤติกรรมท่ีต้ังใจว่าจะท�ำ การฝึกสติอยู่
เสมอจะช่วยให้ติดตามอารมณ์ตนเองได้ไวข้ึน
4) ฝึกการผ่อนคลายตนเอง การอยู่ในสถานการณ์ที่กระตุ้นอารมณ์ อาจท�ำให้เกิดความ
ตึงเครียดจนไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ จึงต้องใช้การผ่อนคลาย เช่น การหายใจลึก ๆ ช้า ๆ การนับเลข
เพื่อลดระดับของอารมณ์ เพ่ือจะท�ำให้พิจารณาเหตุการณ์นั้นได้ดีขึ้น มองในมุมใหม่เพ่ิมเติม และใช้เหตุผล
ในการแสดงออก อน่ึงวิธีการผ่อนคลายบางวิธีจะต้องฝึกมาก่อน เช่น การหายใจลึก ๆ
5) ประเมินสถานการณ์และอารมณ์ เป็นการช่วยให้รู้ว่าสามารถควบคุมอารมณ์ตนเอง
ได้ดีเพียงใด หากรู้สึกกว่าคุมอารมณ์ได้ดี ก็สามารถจัดการสถานการณ์ตรงหน้าได้อย่างท่ีเราต้ังใจ ถ้ารู้สึกว่า
ควบคุมอารมณ์ไม่ดีก็อาจออกจากสถานการณ์น้ัน แต่หากด้ือร้ันคิดเอาชนะ จะท�ำไม่ออกจากสถานการณ์นั้น
ซ่ึงจะท�ำให้เหตุการณ์แย่ลง
2.3.3 กระบวนการพัฒนาเจตคติ แบ่งเป็น 5 ขั้น ได้แก่ (Krathwahl, Bloom and Masia,
1964 อ้างถึงใน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2548: 3-4)
1) ข้ันรับรู้ บุคคลจะมีความรู้สึกรับรู้ต่อส่ิงเร้าที่มากระทบประสาทสัมผัส โดยแบ่งเป็น
ขั้นรู้ตัว ขั้นต้ังใจรับ และข้ันการเลือกสรรส่ิงท่ีรับมา
2) ขนั้ ตอบสนอง บคุ คลจะเรม่ิ มปี ฏกิ ริ ยิ าตอบสนองสงิ่ เรา้ นน้ั แบง่ เปน็ ขน้ั เตม็ ใจตอบสนอง
ข้ันต้ังใจตอบสนอง และขั้นพอใจจะตอบสนอง
3) ขน้ั เหน็ คณุ คา่ บคุ คลเรม่ิ เหน็ คณุ ประโยชนข์ องสง่ิ ทรี่ บั รแู้ ละสงิ่ ทต่ี อบสนองแลว้ โดย
แบ่งเป็นขั้นการยอมรับค่านิยม การแสดงความนิยมในค่านิยมน้ัน และการเข้าร่วมงาน
4) ขนั้ จดั ระบบ บคุ คลจะพยายามปรบั ตวั เองใหเ้ ขา้ กบั คา่ นยิ มทเ่ี ขายอมรบั และพจิ ารณา
ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมท่ีเขายอมรับหลาย ๆ อย่างพร้อม ๆ กัน พยายามจัดล�ำดับค่านิยมเหล่าน้ันและ
ปรับตัวให้เข้ากับส่ิงต่าง ๆ ที่เขายอมรับน้ัน ประกอบด้วย ข้ันสร้างความเข้าใจในค่านิยมและข้ันสร้างระบบ
ค่านิยม
5) ข้ันเกิดกิจนิสัย เม่ือจัดระบบส�ำหรับตัวเองแล้ว บุคคลจะยึดถือระบบที่จัดไว้น้ันเป็น
ของตัวเองแล้วปฏิบัติหรือยึดถือต่อไปจนเกิดเป็นการแสดงออกโดยอัตโนมัติ แบ่งเป็นข้ันสร้างข้อสรุปและ
ข้ันกิจนิสัย
2.3.4 แนวทางการพฒั นาความฉลาดในการฝา่ วกิ ฤต เปน็ การพฒั นาตามมติ ิ 4 ดา้ น (CO2RE)
ของความฉลาดในการฝ่าวิกฤต ได้แก่ (พอล จี สตอลทซ์ แปลโดย ธีระศักด์ิ ก�ำบรรณารักษ์, 2548: 156-157)
C : Control คือ การวิเคราะห์เกี่ยวกับการรับรู้ของตนเองว่าเรามีความสามารถในการ
ควบคมุ ภาวะวกิ ฤตมากนอ้ ยเพยี งใด ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ รามคี วามหวงั มพี ลงั ทจ่ี ะปรบั ปรงุ รปู แบบการเผชญิ ไปสจู่ ดุ หมาย