Page 63 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 63
วิถีครู ความเป็นครู และการพัฒนาวิชาชีพครู 14-53
2) หลักวิชา การหาหลักวิชาในการท�ำงานด�ำเนินการเป็นล�ำดับข้ัน คือ (1) การศึกษา
เอกสารทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ทั้งท่ีเป็นต�ำราและเอกสารอื่น เพ่ือเป็นฐานความรู้โดยไม่จ�ำเป็นต้องเช่ือ
ตามเอกสารน้ัน (2) การศึกษาประสบการณ์ของผู้อื่น รวมทั้งประสบการณ์ของชาวบ้าน เพื่อวิเคราะห์การ
ปฏิบัติท่ีน�ำไปสคู่ วามสำ� เร็จและความลม้ เหลว แล้วน�ำมาออกแบบเปน็ หลกั ปฏิบตั ิของงานท่ีจะทำ� โดยคำ� นึงถึง
ความเหมาะสมของพื้นท่ีและสังคมแต่ละแห่ง
3) หลักปฏิบัติ หลักการปฏิบัติจะเน้น (1) การมีส่วนร่วมของ 3 ภาคส่วน คือ ภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โดยการหาจุดร่วมการปฏิบัติงานร่วมกัน และ (2) การบริหารจัดการที่ดี
(3) การเขียนและบริหารโครงการย่อย ๆ เช่น การฝึกบุคลากรที่ยังขาดประสบการณ์ความช�ำนาญ และ
(4) การท�ำงานบนความขาดแคลนตามสภาพและเงื่อนไขในการท�ำงานน้ัน
3.3.2 การพัฒนาคุณลักษณะตามกระบวนการจัดระเบียบชุมชนและการพัฒนา โดยชุมชน
มีการด�ำเนินงาน 5 ข้ัน ดังนี้ (ขนิฎฐา กาญจนรังสีนนท์, ดวงรัตน์ กมโลบล และพูนศิริ วัจนะภูมิ, 2547:
296-297)
1) การวเิ คราะหช์ มุ ชน คอื การเรยี นรเู้ รอื่ งราวของชมุ ชนเพอ่ื สรา้ งหรอื ฟน้ื ฟคู วามเขม้ แขง็
ของชุมชน โดยอาจใช้แนวทางการเรียนรู้ที่เน้นปัญหาหรือแนวทางที่เน้นคุณค่าของชุมชน โดยเรียนรู้
องคป์ ระกอบสงั คมทง้ั 4 ดา้ น คอื โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ความคดิ พน้ื ฐาน บรรทดั ฐาน และวถิ ปี ระชาธปิ ไตยของสงั คมนน้ั
2) การเรยี นรแู้ ละการตดั สินใจรว่ มกนั ของชมุ ชน การเรยี นรูร้ ว่ มกนั ของชุมชนทำ� ให้เกดิ
วิถีชีวิตสาธารณะ เข้าใจที่มาท่ีไปของชีวิต เกิดการจัดระเบียบการบริหารท้องถ่ินแบบใหม่
3) การจัดท�ำแผนชุมชน เป็นการน�ำพลังของชุมชนมาเป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือน
การพัฒนาชุมชน ชุมชนจึงต้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและด�ำเนินการ
4) การด�ำเนินกิจกรรมของชุมชน จะเน้นการท�ำงานร่วมกันเพื่อสังคมส่วนรวม ด้วยการ
มีแผนชุมชนที่ดี พร้อมท้ังการปรับกระบวนทัศน์ การปรับพฤติกรรม และการเช่ือมความสัมพันธ์กับภาคีนอก
ชุมชน
5) การประเมินผลโดยชมุ ชน โดยการก�ำหนดองค์ประกอบและกระบวนการประเมนิ ผล
ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชน
4. การพัฒนาคณุ ลกั ษณะของผูน้ ำ�ทางวชิ าชพี
การเป็นผู้น�ำทางวิชาชีพเป็นคุณลักษณะที่ส�ำคัญที่สุดของการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครู เน่ืองจากครู
ผู้น�ำทางวิชาชีพจะต้องเป็นครูผู้น�ำทางปัญญา ครูผู้น�ำทางจิตใจ และครูผู้น�ำทางสังคม การพัฒนาคุณลักษณะ
ของผู้น�ำทางวิชาชีพจึงต้องครอบคลุมทั้งการแสวงหาความรู้ทางวิชาการ การพัฒนาวัฒนธรรมการท�ำงาน การ
พัฒนาความเป็นผู้น�ำ การสร้างเครือข่าย การพัฒนาตนอย่างรอบด้าน และการยึดหลักธรรมในการประกอบ
วิชาชีพ
4.1 การแสวงหาความรู้เชิงวชิ าการ
4.1.1 การอ่าน ครูผู้น�ำทางวิชาชีพจะต้องพัฒนาการอ่านทางวิชาการท้ังด้านเทคนิคการอ่าน
และขอบข่ายของการอ่านดังนี้