Page 68 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 68

14-58 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

            4.6.1 การครองตน มีฆราวาสธรรม 4 เป็นหลักครองชีวิตของคฤหัสถ์ ประกอบด้วย
                สัจจะ คือ ความจริง หรือการใช้ชีวิตโดยยึดความจริงเป็นท่ีตั้ง ใช้ความจริงเป็นหลักใน

การก�ำหนดความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน เรียกว่า เป็นคนจริงใจ พูดจริง ท�ำจริง
                ทะมะ คือ การฝึกใจตนเอง การข่มใจตนเองไม่ให้เป็นทาสของกิเลส เป็นการฝึกนิสัย

ตนเองจนสามารถควบคุมใจ ควบคุมวาจา และควบคุมการกระท�ำให้เปน็ ไปในส่งิ ทด่ี ี ที่ควรได้ อีกความหมาย
หนง่ึ หมายถงึ การแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของตนและปรบั ปรงุ ตนใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ดว้ ยสตปิ ญั ญา ทมะจงึ มจี ดุ มงุ่ หมาย
ท�ำให้เกิดปัญญา

                ขันติ คือ ความอดทนท�ำงานด้วยความขยันหมั่นเพียร มุ่งมั่นท่ีจุดมุ่งหมายของงาน
ไม่ท้อถอย ไม่หวั่นไหว แข็งแกร่ง ทนทานต่ออุปสรรค จนไปถึงความส�ำเร็จของงานหรือความส�ำเร็จในแต่ละ
ช่วงชีวิต

                จาคะ คือ การเป็นคนใจกว้าง พร้อมรับฟังความทุกข์ ความคิดเห็น และความต้องการ
ของผู้อ่ืน เป็นคนใจไม่คับแคบ ไม่เห็นแก่ตน ไม่เอาแต่ใจตน พร้อมจะร่วมมือช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
เสียสละแม้ความสุขสบายส่วนตนหรือผลประโยชน์ส่วนตนได้

            4.6.2 การครองคน มี สังคหวัตถุธรรม 4 เป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวใจคนหรือเป็นเคร่ืองประสาน
ความสามัคคีในหมู่คน ประกอบด้วย

                ทาน หมายถงึ การใหใ้ นหลายรปู แบบ เชน่ การปลอบใจ การใหส้ ง่ิ ของ และการใหค้ วามรู้
                ปิยวาจา หมายถึง วาจาที่ท�ำให้คนรัก เช่น วาจาสุภาพ วาจาที่ท�ำให้เกิดไมตรีและสามัคคี
และวาจาที่มีเหตุมีผลเป็นประโยชน์
                อัตถจริยา หมายถึง การประพฤติหรือการกระท�ำที่เป็นประโยชน์ เช่น การขวนขวาย
ช่วยเหลือกิจการ รวมทั้งการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
                สมานัตตตา หมายถึง ความมีตนเสมอ เช่น การท�ำตนเสมอปลาย การปฏิบัติต่อทุกคน
เท่าเทียมกัน ในกฎเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน การร่วมทุกข์ร่วมสุข ร่วมแก้ไข การวางตนให้เหมาะสมแก่ฐานะ
เหตุการณ์ และส่ิงแวดล้อม
            4.6.3 	ครองงาน มีอิทธิบาท 4 เป็นเคร่ืองมือไปสู่ความส�ำเร็จตามความมุ่งหมาย ประกอบด้วย
                ฉนั ทะ คอื ความพอใจ คอื ตอ้ งการจะทำ� งานนนั้ รกั ทจี่ ะทำ� งานนนั้ ไมถ่ กู ใครบงั คบั ใหท้ ำ�
                วิริยะ คือ ความเพียร ทุ่มเท ขยันท�ำงานอย่างต่อเน่ือง ไม่ท้อแท้ เข้มแข็ง อดทน สู้งาน
จนส�ำเร็จ
                จติ ตะ คอื ความคดิ มงุ่ มนั่ ตง้ั ใจทำ� ดว้ ยความคดิ มงุ่ มน่ั ไมป่ ลอ่ ยจติ ใหฟ้ งุ้ ซา่ นเลอ่ื นลอย
                วิมังสา คือ การไตร่ตรอง ตั้งแต่การวางแผน ตรวจตรา ตรวจสอบ หม่ันใช้ปัญญา
ใคร่ครวญ ทดลอง แก้ไขปรับปรุง และวัดผลจนงานส�ำเร็จ
       ครูที่เป็นผู้น�ำในด้านปัญญา ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านวิชาชีพ มีบทบาทและมีความส�ำคัญย่ิง
ในการพัฒนาวิชาชีพครู การพัฒนาบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง และการพัฒนาสังคมไปสู่เป้าหมายการพัฒนาของชาติ
ปัจจัยส�ำคัญที่สุดของความส�ำเร็จในงานการเป็นผู้น�ำด้านต่าง ๆ น้ี ไม่ใช่ปัจจัยเชิงวัตถุ แต่เป็นปัจจัยเชิง
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73