Page 66 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 66

14-56 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

            4.3.1 	การรบั รู้ คือ การท�ำให้ผู้เก่ียวข้องรับทราบในสิ่งที่จะเกิดข้ึนทั้งด้านความเป็นมา เหตุผล
และสิ่งต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้น ตลอดจนกระตุ้นให้มีพฤติกรรมเชิงบวกต่อการเปล่ียนแปลง

            4.3.2 	การพัฒนาความเข้าใจ ท�ำให้ผู้เกี่ยวข้องมีการรับรู้ที่ชัดเจนซ่ึงจะช่วยให้เกิดความเข้าใจ
ต่อการเปล่ียนแปลง มีความคาดหวัง และมุมมองที่ถูกต้อง

            4.3.3 	การยอมรบั การสร้างความเข้าใจจะท�ำให้เกิดการยอมรับ ซึ่งควรจะพยายามท�ำให้มีการ
ยอมรับส่ิงท่ีจะเกิดนั้นท้ังหมดมากกว่าจะมีการยอมรับเพียงบางส่วน

            4.3.4 	การมีส่วนร่วม คือ การพยายามท�ำให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการเปล่ียนแปลงอย่าง
เต็มที่ รู้สึกเป็นเจ้าของ เป็นส่วนหน่ึง และมุ่งม่ันต่อความส�ำเร็จของการเปลี่ยนแปลงน้ัน ซ่ึงจะท�ำให้
การเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

       4.4 	การสรา้ งเครอื ขา่ ย การสร้างเครือขา่ ยเป็นแนวทางที่จ�ำเปน็ ในการพฒั นาคุณลกั ษณะของครูผู้นำ�
ทางวชิ าชพี ในปจั จบุ นั เนอื่ งจากองคก์ รหลกั ทางการศกึ ษาไดป้ รบั เปลย่ี นการพฒั นาครจู ากการพฒั นาโดยศนู ย์
รวมทพ่ี ฒั นาทว่ั ทงั้ ประเทศมาเปน็ การกระจายการพฒั นาไปตามภมู ภิ าค โดยการประสานความรว่ มมอื ระหวา่ ง
หน่วยงานและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง โดยอาจก�ำหนดบทบาทและรูปแบบการพัฒนาดังน้ี (ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา,
2548: 16)

            4.4.1 บทบาทของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง บทบาทของหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาครู
แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ 1) หน่วยวางแผน ก�ำหนดมาตรฐานการพัฒนาและรับรองการพัฒนา ประกอบด้วย
องค์กรวิชาชีพครู องค์ท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารครู สถาบันการผลิตครู 2) หน่วยปฏิบัติเพื่อการพัฒนา เช่น
คุรุสภา สถาบันผลิตครู สมาคม ชมรมวิชาชีพ และเครือข่ายการพัฒนา 3) หน่วยสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนา
เช่น ส�ำนักงานท่ีรับผิดชอบการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมส่งเสริมการ
ปกครอง สมาคม/ชมรมวิชาชีพ เครือข่ายการพัฒนา

            4.4.2 รูปแบบการพัฒนา สามารถท�ำได้เป็น 3 ทาง คือ 1) การศึกษาในระบบ โดยการสร้าง
ความรว่ มมอื ระหวา่ งเครอื ขา่ ยในการสง่ เสรมิ ใหค้ รผู นู้ ำ� ทางวชิ าชพี ไดศ้ กึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาทส่ี งู ขนึ้ รวมทง้ั
การจัดหลักสูตรระยะส้ัน 2) การศึกษานอกระบบ โดยการสร้างความร่วมมือในการให้ครูผู้น�ำทางวิชาชีพได้
เข้าร่วมประชุม รับการอบรม การสัมมนา หรือการศึกษาดูงาน 3) การศึกษาตามอัธยาศัย โดยการศึกษาจาก
แหล่งความรู้ต่าง ๆ ศึกษาจากเทคโนโลยีต่าง ๆ การเสวนาและการพบปะสังสรรค์ รวมทั้งการพัฒนาโดย
องค์กรหรือหมู่คณะ

       การพัฒนาความร่วมมือในลักษณะเครือข่ายน้ี สามารถท�ำได้ทั้งการเป็นเครือข่ายบุคคล เครือข่าย
องค์กร เพ่ือร่วมกันพัฒนาท้ังด้านความรู้ สมรรถนะ การปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน และการเป็นผู้น�ำใน
วิชาชีพ

       4.5 	การพัฒนาตนเองอย่างรอบด้านตามแนวอริยมรรค แนวทางการพัฒนาตนเองอย่างรอบด้าน
ตามแนวพุทธศาสนา คือ แนวอริยมรรค ซ่ึงเป็นวิธีด�ำเนินชีวิตที่ประเสริฐ เป็นแนวทางการพัฒนาจิตเพื่อดับ
ความอยากซงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ ทกุ ข์ การพฒั นารอบดา้ น คอื การพฒั นา 8 ดา้ น ไดแ้ ก่ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต),
2547: 11-15)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71