Page 60 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 60
14-50 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
O2 : Origin and Ownership คือ การวิเคราะห์หาจุดเร่ิมต้นของปัญหาและวิเคราะห์
ว่าเราเป็นเจ้าของปัญหาที่ต้องรับผิดชอบปัญหาส่วนไหน อย่างไร เพราะการกล่าวโทษตนเองมากเกินจริงจะ
ท�ำให้รู้สึกกดดันและอ่อนล้าซึ่งท�ำให้เกิดการตัดสินใจที่ไม่ถูกต้อง แต่การวิเคราะห์ตนเองตามความเป็นจริง
จะท�ำให้เกิดการเรียนรู้จากความผิดพลาด ดังนั้น คนที่มีความฉลาดด้านความอดทนสูงจะมีความรับผิดชอบ
สูงและมีแรงจูงใจให้ลงมือท�ำเพ่ือแก้ปัญหา
R : Reach คือ การวิเคราะห์ผลของปัญหา โดยการพิจารณาขอบข่ายของส่ิงท่ีได้รับ
ผลกระทบจากปญั หา เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ทำ� ลายดา้ นอน่ื ของชวี ติ และงาน เพราะยง่ิ ผลของปญั หา
แพรก่ ระจายกวา้ งเพยี งไรกจ็ ะยงิ่ ทำ� ลายสภาพจติ ใจมากเทา่ นน้ั ผทู้ มี่ ี AQ สงู จงึ พยายามจำ� กดั การแพรก่ ระจาย
ของปัญหาให้อยู่ในขอบเขตท่ีจ�ำเป็น
E : Endurance คอื การวิเคราะห์ระยะเวลาของสภาพปัญหาวา่ เปน็ ปญั หาระยะส้ันหรอื
ยาวเพียงไรเพื่อด�ำเนินการแก้ปัญหา ผู้ท่ีมี AQ ต่�ำจะคิดว่าปัญหานี้เป็นส่ิงท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้หรือแก้ไขไม่ได้
คิดว่าตัวเองไม่มีความสามารถท่ีจะแก้ไข และหมดหวังกับการเปล่ียนแปลงซ่ึงจะท�ำให้ยังคงมีปัญหาอยู่
แม้จะถาวรหรือช่ัวคราวก็ตาม
2.3.5 วธิ กี ารรู้เท่าทนั จติ มี 3 ประการ ดังน้ี (มาลี อาณากุล, 2547: 59)
1) การส�ำรวมระวัง เป็นการส�ำรวมระวังท้ังการเห็น การได้ยิน รวมถึงการใช้อิริยาบถ
ต่าง ๆ เช่น ยืน เดิน มีความเนิบช้า มีระเบียบ ฝึกการรับรู้อารมณ์ทีละอย่าง อย่าท�ำอะไรพร้อมกันตามความ
เคยชิน เช่น ดื่มกาแฟไปอ่านหนังสือพิมพ์ไป จะท�ำให้ขาดความระวังจิตได้ง่าย
2) การสังเกต เป็นการสังเกตส่ิงท่ีตนนึกคิดและรู้สึก รวมทั้งเจตนาของตนด้วยว่าเหตุ
ใดจึงคิดและท�ำเช่นนั้น ยอมรับทุกสิ่งท่ีสังเกตได้ อย่ามีอคติร่วมในการสังเกต เช่น หงุดหงิดไม่ได้ดังใจ โกรธ
ตัวเอง หรือมีความยินดี เป็นต้น น่ันหมายถึงการลืมตนและตกไปจากการสังเกตแล้ว
3) การก�ำหนดรู้ โดยก�ำหนดสิ่งที่ตนนึกคิดและรู้สึก รวมท้ังเจตนาของตนท่ีสังเกตได้
ระลึกได้ว่าท้ังความหงุดหงิด ความโกรธ ความยินดี เป็นเพียงธรรมชาติอย่างหนึ่งของนามธรรม (จิต) ไม่ใช่
ตัวตน การมีความรู้สึกหงุดหงิด โกรธ ยินดี จึงไม่ใช่ความผิด แต่ต้องไม่หลงไปกับความคิดน้ันอย่างลืมตัว
เมื่อก�ำหนดรู้อิริยาบถตลอดจนความคิดว่าเป็นเพียงการท�ำงานของรูปธรรมหรือนามธรรมภายในตัวเราได้
ถูกต้องแล้ว จึงสังเกตและก�ำหนดรู้ความรู้สึกอ่ืนที่ผ่านเข้ามาต่อไป
2.4 การคดิ เพอื่ พฒั นาจติ ใจ วิธีคิดท่ีช่วยการพัฒนาจิตได้ดีวิธีหนึ่ง คือ วิธีการคิดแบบไตรสิกขา ซ่ึง
เป็นการพัฒนากายและจิตไปพร้อมกันโดยพัฒนา 3 ด้าน (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), 2543: 4-5) ได้แก่
ศีล คือ การฝึกฝนอบรมด้านความประพฤติ ระเบียบวินัย ความสุจริตทางกาย วาจา และ
อาชีวะ เรียกว่า อธิกสีลสิกขา ท�ำให้บุคคลมีความพร้อมทางความประพฤติ วินัย และความสัมพันธ์ทางสังคม
ถึงมาตรฐานของอารยชน เป็นพ้ืนฐานแก่การสร้างเสริมคุณภาพจิตได้ดี
สมาธิ คือ การฝึกฝนอบรมทางจิต การปลูกฝังคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพ สมรรถภาพ และ
สุขภาพของจิต เรียกว่า อธิจิตสิกขา ท�ำให้บุคคลพัฒนาถึงมาตรฐานของอารยชน เป็นพื้นฐานแห่งการพัฒนา
ปัญญา