Page 55 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 55
วิถีครู ความเป็นครู และการพัฒนาวิชาชีพครู 14-45
1) การก�ำหนดความรู้หลักท่ีจ�ำเป็นหรือส�ำคัญต่องานหรือกลุ่มหรือองค์กร
2) การเสาะหาความรู้ท่ีต้องการ
3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะต่อการใช้งาน
4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในงาน
5) การน�ำประสบการณ์จากการท�ำงานและการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ
สกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทึกไว้
6) การจดบนั ทกึ “ขมุ ความร”ู้ และ “แกน่ ความร”ู้ สำ� หรบั ไวใ้ ชง้ าน และปรบั ปรงุ เปน็ ชดุ ความรู้
ที่ครบถ้วน ลุ่มลึก เช่ือมโยงมากขึ้น และเหมาะต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
ขุมความรู้ (knowledge assets) เป็นความรู้ปฏิบัติประเด็นเล็ก ๆ ซึ่งอาจเป็นความรู้ในเชิง
ทักษะ คือ เป็นวิธีการ เคล็ดลับ หรือวิธีปฏิบัติ เป็นความรู้เชิงวิธีคิดหรือความเชื่อที่น�ำไปสู่การปฏิบัติ หรือ
อาจเป็นความรู้ในเชิงบรรยากาศท่ีช่วยกระตุ้นหรือส่งเสริมการปฏิบัติ ฐานข้อมูลขุมความรู้จะต้องค้นหาง่าย
แบ่งปันถ่ายทอดง่าย โดยผู้น�ำไปใช้อาจเอาไปใช้ใหม่ ปรับปรุง แก้ไข ลบท้ิงหรือเพิ่มเติมได้
แกน่ ความรู้ (core competence) เปน็ ชดุ ความรชู้ ดุ หนง่ึ สำ� หรบั ใชท้ ำ� งานใดงานหนง่ึ ใหป้ ระสบ
ผลส�ำเร็จ อาจเป็นแก่นความรู้ของบุคคลหรือกลุ่มก็ได้ อาจได้มาโดยการระดมความคิดเห็น การเชิญผู้ท่ี
ทำ� งานไดผ้ ลดเี ยีย่ ม (best practice) กลมุ่ หนึ่งมาเล่าเรอ่ื งความส�ำเรจ็ ของตนแล้วช่วยกันสกดั ขุมความรู้ เมอ่ื
น�ำขุมความรู้มาจัดหมวดหมู่จะท�ำให้ได้แก่นความรู้
ดังนั้น ครูสามารถพัฒนาความเป็นผู้น�ำทางปัญญาโดยฝึกการรู้จักเลือก รู้จักมอง และรู้จัก
เก่ียวข้อง โดยการคิดอย่างถูกวิธีและรู้จักคิด การคิดจึงเป็นแนวทางส�ำคัญในการพัฒนาปัญญา และปัญญา
เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการด�ำรงชีวิตในปัจจุบัน
การพัฒนาคุณลักษณะการเป็นผู้น�ำทางปัญญาท้ัง 3 ด้านท่ีกล่าวมาแล้วนั้น เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่
ขาดด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ ผู้มีปฏิสัมพันธ์จะต้องน�ำมาคิดให้ปฏิสัมพันธ์นั้นมีคุณค่า และผู้ท่ีคิดจะต้องมี
ปฏิสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลของการคิด ครูผู้น�ำทางปัญญาจึงจะมีปัญญาท่ีใช้ปฏิบัติงานและแก้ปัญหาอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. การพัฒนาคณุ ลักษณะของผ้นู ำ�ทางจติ ใจ
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและแนวคิดทางปรัชญาศาสนามีสาระเก่ียวกับการพัฒนาจิตเหมือน
กันประการหนึ่ง คือ จิตใจเป็นสิ่งท่ีพัฒนาได้ โดยนักวิทยาศาสตร์สุขภาพมีหลักการว่าการรับรู้ทางจิตสัมพันธ์
กับการเรียนรู้ นักปรัชญาตะวันตกหลายกลุ่มมองว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีและเปลี่ยนแปลงเพราะ
สงิ่ แวดลอ้ ม ศาสนาพทุ ธมองวา่ ธรรมชาตทิ แี่ ทจ้ รงิ ของจติ คอื ความผดุ ผอ่ ง แตถ่ กู ปนเปอ้ื นดว้ ยกเิ ลส แนวคดิ
ทั้งสามจึงช่วยให้เข้าใจว่าจิตใจของมนุษย์เป็นส่ิงท่ีพัฒนาได้ แนวทางการพัฒนาจิตใจที่ส�ำคัญ คือ การยึดมั่น
ในหลักธรรมทางศาสนา การสร้างสุขภาพจติ ท่ีดี การปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการและเทคนิคการพัฒนาจิตใจ และ
การคิดเพื่อพัฒนาจิตใจ