Page 58 - หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
P. 58
14-48 หลักการและทฤษฎีการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพครู
สิ่งต่าง ๆ อย่างง่าย ๆ บ้าง ปล่อยวาง ปรับความคิดให้อยู่กับปัจจุบัน ปรับตัวเข้ากับสังคม ปรับความรู้สึกเข้า
กับคนใหม่ ๆ ฝึกท�ำส่ิงที่เส่ียง กล้าลองผิดลองถูก
สมองซีกที่ 3 ซีกของอารมณ์ความรู้สึก เป็นลักษณะของหัวใจ (feeling self) เป็นศูนย์
รวมของอารมณ์ ความรู้สึก ความรู้ตัว เชิงเอาแต่ใจ เอาอารมณ์เป็นใหญ่ ถ้าใช้ไม่ถูกหลักหรือใช้อย่าง
แปรปรวนก็อาจเป็นโรคคึก โรคคล่ังไคล้ โรคซึมเศร้า (manic-depressive) การพัฒนาสมองซีกนี้ คือ การ
ใชเ้ หตผุ ลมากขน้ึ ในการกระทำ� ตา่ ง ๆ การรจู้ กั ปฏเิ สธสง่ิ ทจี่ ะทำ� ลายสขุ ภาพชวี ติ ตง้ั เปา้ หมายชวี ติ มอี ารมณข์ นั
คบเพ่ือน เข้าสังคม มีการสื่อสารความเข้าใจ
สมองซีกท่ี 4 ซีกของการอยากลองอยากรู้ (experimental self) เป็นลักษณะหัวไว
ทำ� อะไรแบบกลา้ เสยี่ ง กลา้ ลอง ทำ� จากสญั ชาตญาณตวั เอง จงึ เหมอื นสมองเดก็ ทอี่ ยากรอู้ ยากเหน็ อยากเสยี่ งทำ�
รับรู้ง่าย ตอบสนองง่าย ชอบจินตนาการ แต่ถ้าใช้เร่ือยเปื่อยก็อาจเป็นโรคต่ืนตระหนก (panic) และเกิด
ประสาทหลอน การพัฒนาสมองซีกน้ี คือ การมีความศรัทธา ความไว้วางใจ คิดถึงความม่ันคงปลอดภัย รู้จัก
การส่ือสารและการเข้าใจ ท�ำส่ิงต่าง ๆ อย่างรู้ตัว อยู่กับความรู้สึกที่เป็นปัจจุบัน
2.3 การปฏิบัติตามกระบวนการและเทคนิคการพัฒนาจิตใจ การพัฒนาคุณลักษณะทางจิตแต่ละ
ด้านมีข้ันตอนแตกต่างกัน ครูผู้น�ำทางจิตใจจึงต้องพัฒนาตามขั้นตอนในกระบวนการ หรือฝึกใช้เทคนิคการ
พัฒนา เช่น
2.3.1 กระบวนการการเข้าใจตนเอง มีข้ันตอนดังนี้ (ปรีชา วิหคโต, 2546: 77-78)
1) ก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการท�ำความเข้าใจตนเอง เช่น เข้าใจตนเองด้านสติปัญญา
อารมณ์
2) การสำ� รวจตนเอง โดยอาจใชว้ ธิ กี ารมองตนดว้ ยการสงั เกตตนเองหรอื วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื
ช่วย เช่น แบบส�ำรวจ
3) การวเิ คราะหป์ ระเมนิ หาจดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย โดยจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารองิ เกณฑเ์ พอ่ื เปรยี บเทยี บ
เช่น การอิงเกณฑ์มาตรฐาน การอิงกลุ่ม
4) การพฒั นาตนดว้ ยการลดจดุ ดอ้ ยและเพมิ่ จดุ เดน่ โดยองิ หลกั การจากเอกสารวชิ าการ
ค�ำแนะน�ำของผู้รู้ และจากประสบการณ์สั่งสม
5) ประเมนิ ผลการพฒั นาตนเอง โดยเปรยี บเทยี บความสอดคลอ้ งระหวา่ งความคาดหวงั
และผลการปฏิบัติ
6) การปรับปรุงแก้ไขใหม่ จะกระท�ำเมื่อผลการประเมินไม่เป็นท่ีพึงพอใจ แต่หากผล
การประเมินเป็นที่พึงพอใจก็สามารถยุติกระบวนการพัฒนา
2.3.2 เทคนคิ การจดั การกบั อารมณ์ การจัดการกับอารมณ์เป็นสิ่งท่ีเราต้องตั้งใจด้วยตัวเราเอง
ที่จะปรับการแสดงอารมณ์ของตนเองไปในทางท่ีดีข้ึนซึ่งอาศัยการฝึกอย่างสม่�ำเสมอ ส่วนเทคนิคท่ีจะช่วยใน
การฝึกการจัดการกับอารมณ์ ได้แก่ (พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2546: 139-140)
1) ทบทวนการแสดงออกทางอารมณ์ของตัวเรา โดยการพิจารณาผลของการแสดง
อารมณ์ท่ีมีต่อตัวเราและคนอื่น หากรู้สึกว่าการแสดงออกของเรามีปัญหาก็ควรยอมรับและหาวิธีการแก้ไข
การยอมรับอารมณ์ตนเองถือเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการพัฒนาอารมณ์