Page 51 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 51
การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่อิงมาตรฐานการเรียนรู้ 1-41
จากท่ีกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนการสอนภายใต้แนวคิดนี้ ผู้สอนเป็นผู้ด�ำเนินการ
ควบคมุ สง่ิ ทผี่ เู้ รยี นตอ้ งรู้ เปน็ การจดั การเรยี นการสอนทขี่ าดความยดื หยนุ่ และเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน ไมเ่ ปดิ โอกาส
ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม ซึ่งในท่ีสุดผู้เรียนจะไม่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือไม่สามารถพัฒนาตนเองได้
ต้องเป็นผู้คอยรับความช่วยเหลือจากผู้สอนและผู้ช่ียวชาญ ซึ่งผู้เรียนแบบน้ีจะไม่สามารถด�ำรงชีวิตใน
ยุคโลกาภิวัตน์ได้และส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในท่ีสุด
เป็นที่ยอมรับว่าในปัจจุบันนั้น แนวทางการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารยังคงเป็นแนวทางใน
การจัดกิจกรรมการเรียนในห้องเรียนภาษาและอีกท้ังแนวทางการสอนภาษาแบบเน้นไวยากรณ์ก็ยังคงใช้กัน
อยา่ งแพรห่ ลายจนถงึ ปจั จบุ นั เชน่ กนั เพราะดว้ ยขอ้ จำ� กดั เชน่ การทดสอบภาษาองั กฤษดว้ ยระบบปรนยั การวดั
และประเมินผลระดับชาติที่เน้นความถูกต้องของโครงสร้างภาษามากกว่าการน�ำไปใช้ได้ การขาดแคลน
ผู้สอนสาขาภาษาอังกฤษที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนสามารถมี
ส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้แนวคิดน้ี หนังสือจะเป็นส่ิงส�ำคัญที่สุดของ
ผู้สอนซ่ึงจะเป็นส่ิงท่ีระบุว่าจะสอนอะไรในห้องเรียน (Clark, 1987; Kilpatrick, 1993 การเรียนการสอนจะ
เคล่ือนไปในทางเดียวกันตามบทเรียนของหนังสือ การเรียนที่ไม่เน้นความแตกต่างและความต้องการของ
ผู้เรียนรายบุคคล (K.Johnson, 2001)
3. แนวคิดของการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษท่ีองิ มาตรฐานการเรียนรู้
วอลเลส (Wallace, 2002) กล่าวว่า แนวทางการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารไม่ให้ความส�ำคัญ
กบั การพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความสามารถเชิงวิพากษท์ เ่ี ปน็ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผูเ้ รียนในยคุ ศตวรรษ
ท่ี 21 คือความสามารถในการใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยนความรู้ ค้นหาความคิดใหม่ ๆ และการวิเคราะห์
ข้อมูลท่ีมาจากส่ือที่หลากหลาย แลน์คเชียร์ (Lankshear, 1997) กล่าวเพิ่มเติมว่าการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริม
ให้ผู้เรียนภาษาสามารถอ่านออกเขียนได้และคิดวิเคราะห์เป็น (Critical literacy approach) น้ันเป็นวิธีท่ี
ท�ำให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนท่ีมีอ�ำนาจในการตัดสินใจในการเรียนด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน
ตามหลักสูตรอิงมาตรฐาน
ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษน้ันไม่ใช่การจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมความ
สามารถการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารเพียงอย่างเดียว และไม่ได้จ�ำกัดเพียงแค่ทักษะการพูด แต่เป็นการสร้าง
กระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นมอี สิ รภาพทางดา้ นความคดิ สามารถใชภ้ าษาในการแสวงหาความรู้ โตต้ อบ
ได้ในรปู แบบการเขยี นและการพูดเพือ่ ใหเ้ กิดความคดิ ไตร่ตรองยอ้ นกลบั (Reflective actions) เพื่อความรู้
ที่เพิ่มขึ้นและการปฏิสัมพันธ์ท่ีเพิ่มขึ้น การเรียนรู้ภายใต้แนวน้ีจึงเน้นปัจเจกบุคคลและสังคม
การจัดกิจกรรมภายใต้แนวคิดนี้ อยู่ในรูปแบบของการจัดประสบการณ์การเรียนที่เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้มากที่สุดโดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการเรียนและน�ำไปประยุกต์ใช้ได้หรือ
เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ ซ่ึงสามารถการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับความรู้ด้านโครงสร้างภาษา หรืออาจมี
กิจกรรมเกยี่ วกับการตอบสนองดว้ ยทา่ ทาง (Total Physical Response) และแบบฟัง-พูด (Audio lingual)
ตราบใดท่ีกิจกรรมนั้นสามารถท�ำให้ผู้เรียนภาษาบรรลุจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ ดังเช่น กูมาราวาดีว์ลู