Page 52 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 52

1-42 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

(Kumaravadivelu, 2006) กล่าวว่า การจ�ำกัดกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงท�ำให้ห้องเรียนภาษาขาดอิสรภาพ
ไม่มีการยืดหยุ่น ส่ิงที่ กูมาราวาดีว์ลู (Kumaravadivelu, 2006) น�ำเสนอก็คือ การจัดห้องเรียนภาษาที่มี
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน ผู้เรียน และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ในกระบวนการการเรียนการสอน

       บราวน์ (Brown, 2002) สนบั สนนุ แนวคดิ ของ กมู าราวาดวี ล์ ู (Kumaravadivelu, 2006) และอธบิ าย
ว่า เราควรจะหยุดให้ความส�ำคัญต่อการหาวิธีการสอนภาษา และหยุดความคิดที่ว่า การเรียนการสอน
และการจัดกิจกรรมการเรียนภาษาที่ดีต้องมาจากวิธีการสอนที่ดี ส่ิงที่เราต้องท�ำคือการค้นหาสิ่งที่ดีกว่าวิธี
การสอน ซึ่งเป็นท่ีมาของค�ำว่า หลังเทคนิค (Post Method) ออล์ไรท์ (Allwright, 1991) นักการศึกษาด้าน
การสอนภาษาตา่ งประเทศสนบั สนนุ แนวคดิ ของทงั้ สองทา่ นทก่ี ลา่ วมา โดยเนน้ วา่ สงิ่ ทผี่ สู้ อนภาษาตา่ งประเทศ
ต้องการคือ หลักการกว้าง ๆ ของการสอน (Board principles of teaching) น่ันคือ การจัดการเรียนการ
สอนและกิจกรรมการเรียนภาษาต่างประเทศควรค�ำนึงถึงสิ่งใดต่อไปนี้

       1. 	ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพชีวิตเป็นอันดับแรก (put quality of life first)
       2. 	ท�ำความเข้าใจธรรมชาติของห้องเรียนภาษาก่อน (work primarily to understand language
classroom life)
       3. 	ท�ำให้ทุกคนมีส่วนร่วม (involve everybody)
       4. 	ท�ำให้ทุกคนท�ำงานร่วมกัน (work to bring people together)
       5. 	ท�ำให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน (work also for mutual development)
       6. 	บูรณาการกิจกรรมที่เน้นการสร้างความเข้าใจไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียน (integrate the work
for understanding into classroom practice)
       7. 	เน้นการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง (make the work a continuous enterprise)
       จากค�ำกล่าวข้างต้น หน่วยน้ีจึงไม่เสนอรายการกิจกรรมทางภาษา แต่น�ำเสนอแนวทางการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีอิงมาตรฐาน ซึ่งผู้สอนสามารถน�ำไปใช้เป็นหลักในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้และเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม ในที่นี้จึงยกตัวอย่างแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ดังนี้
       ทิศนา แขมมณี (2544) ได้น�ำเสนอแนวคิดในการเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ
เรียนและสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวปฏิบัติได้ โดยน�ำเสนอโมเดลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่ือ CIPPA ที่ใช้
กันอย่างแพร่หลาย CIPPA มีองค์ประกอบดังนี้คือ
       C 	มาจากคำ� ว่า Construct หมายถึงการสรา้ งกิจกรรมท่สี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสสรา้ งองค์ความรู้
ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมที่ต้องท้าทายสติปัญญาของผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดกระบวนการคิด
       I 	 มาจากค�ำว่า Interaction หมายถึง การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือสิ่งแวดล้อม ดังน้ันกิจกรรมท่ี
จดั ขนึ้ ตอ้ งเปน็ กจิ กรรมทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั กบั ผอู้ น่ื หรอื สง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั เปน็ กจิ กรรม
ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในสังคม
       P 	มาจากค�ำว่า Physical Participation หมายถึง การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเคล่ือนไหว
ทางกายโดย คือเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดความเคล่ือนไหวทางกายเพ่ือให้ประสาทการเรียนรู้ต่ืนตัว
พร้อมท่ีรับข้อมูลการเรียนรู้
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57