Page 58 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 58

1-48 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

หลักฐานแสดงว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และความสามารถบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดท่ีก�ำหนดไว้ใน
หน่วยการเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน อาจจะเกิดขึ้นได้ในระหว่างการจัดการเรียนรู้หรือ ช้ินงาน/ภาระงาน
รวบยอด แต่ต้องแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนได้น�ำความรู้ ทักษะ และความสามารถที่ได้จากการเรียนรู้ในหน่วย
การเรียนรู้น้ันออกมาใช้

       ตวั อย่างช้ินงาน/ภาระงาน
       ชิ้นงาน เช่น รายงาน เรียงความ จดหมาย โคลง กลอน หนังสือเล่มเล็ก ภาพวาด แผนภาพ แผนผัง
แผนภูมิ กราฟ ตาราง งานประดิษฐ์ งานแสดงนิทรรศการ หุ่นจ�ำลอง แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ
       ภาระงาน เช่น การพูด/รายงานปากเปล่า การอภิปราย การอ่าน การกล่าวรายงาน โต้วาที ร้องเพลง
เล่นดนตรี การเคล่ือนไหวร่างกาย ฯลฯ
       งานที่มีลักษณะผสมผสานกันระหว่างชิ้นงาน/ภาระงาน เช่น โครงงาน การทดลอง การสาธิต ละคร
วีดิทัศน์ ฯลฯ
       2.8	 การวดั และประเมนิ ผล ประกอบด้วยการวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และการวัดและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การก�ำหนดวิธีการวัดและประเมินผล
ตลอดจนเกณฑก์ ารประเมนิ ตอ้ งเชอื่ มโยงกบั มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั ทกี่ ำ� หนดในหนว่ ยการเรยี นรู้ ผสู้ อน
และผู้เรียนควรร่วมกันสร้างเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน หรือการปฏิบัติงาน เพ่ือเป็นแนวทางใน
การประเมินคุณภาพนักเรียน
       2.9	 กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการน�ำเทคนิค/วีธีการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงจะน�ำผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้น
งาน/ภาระงาน เกิดทักษะ และความสามารถตามสมรรถนะส�ำคัญของผู้เรียน กระบวนการตามธรรมชาติวิชา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ซ่ึงก�ำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้
       2.10 เวลาเรียน/จ�ำนวนช่ัวโมง เวลาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะต้อง
วิเคราะห์ให้เหมาะสมกับลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดท่ี
ปรากฏในหน่วยการเรียนรู้จากโครงสร้างรายวิชา
       เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพได้มาตรฐานอย่างแท้จริงทุกองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้
ต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนต้องเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ได้ว่าสิ่งที่
ต้องการให้ผู้เรียนรู้และปฏิบัติได้ในมาตรฐานน้ัน ๆ คืออะไร และมีการบูรณาการอย่างเหมาะสม

3. 	การวางแผนภาพรวม: โครงสรา้ งรายวชิ า (รายภาค/รายปี)

       ก่อนที่จะเข้าสู่ขั้นตอนของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนควรต้องท�ำการก�ำหนดโครงสร้าง
รายวิชา โดยน�ำเอาองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้มาวิเคราะห์เพื่อจัดโครงสร้างรายวิชา เพื่อผู้สอนได้เห็น
ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยของรายวิชาและของช้ันปี และเพื่อให้ผู้สอนสามารถวางแผน
หวั เรอ่ื งทเี่ ชอ่ื มโยงและไมซ่ าํ้ ซอ้ น ซง่ึ สามารถทำ� เปน็ โครงสรา้ งรายวชิ ารายภาคการศกึ ษาหรอื โครงสรา้ งรายวชิ า
รายปีการศึกษา โดยทั่วไปโครงสร้างรายวิชาสามารถสร้างตามแนวทางในภาพท่ี 1.4 ดังน้ี
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63