Page 59 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 59

การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่อิงมาตรฐานการเรียนรู้ 1-49

             1. วิเคราะห์ตัวช้ีวัดในค�ำอธิบายรายวิชาสาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถ่ิน (ถ้ามี)

                 2. จัดกลุ่มตัวชี้วัดช้ันปีท่ีมีเน้ือหาใกล้เคียงกันจัดท�ำเป็นหน่วยการเรียนรู้

                              3. ต้ังชื่อหน่วยฯ ให้น่าสนใจต่อผู้เรียน

                            4. ก�ำหนดสาระส�ำคัญส�ำหรับแต่ละหน่วยฯ

                     5. ก�ำหนดเวลาท่ีใช้สอนและก�ำหนดคะแนนของแต่ละหน่วยฯ

                         ภาพที่ 1.4 แผนภาพการกำ� หนดโครงสร้างรายวชิ า

ทมี่ า: ภาพจาก เฉลิม ฟักอ่อน, 2552.

       เฉลิม ฟักอ่อน (2552) อธิบายว่าขั้นตอน ในการท�ำโครงสร้างรายวิชาดังน้ี
       1.	 วิเคราะห์ตัวชี้วัดในค�ำอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถ่ิน แล้วน�ำกลุ่มตัวชี้วัดท่ี
มีเนื้อหาใกล้เคียงกันจัดท�ำเป็นหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วย ดังที่กล่าวข้างต้น 1 รายวิชาจะมีหลายหน่วย
และแตล่ ะหนว่ ยอาจจะมตี วั ชว้ี ดั ทซ่ี า้ํ กนั หรอื ไมซ่ า้ํ กไ็ ด้ และสามารถมไี ดห้ ลายตวั ชวี้ ดั แตเ่ วลาทใ่ี ชใ้ นการเรยี นรู้
รวมทง้ั หมดตอ้ งไมเ่ กนิ จำ� นวนชว่ั โมงทกี่ ำ� หนดในโครงสรา้ งหลกั สตู รขน้ั พน้ื ฐาน โดยเขยี นรหสั มาตรฐาน ระดบั
ชั้นและตัวช้ีวัดท้ังหมดที่น�ำมาจัดท�ำหน่วยฯ เช่น
       ต  1.1.1  ป.1/2/3

                       ป.1/2/3 	หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ตัวที่ 2 และ3
                       1.1.1 	 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1.1
                       ต 	 หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ
       2.	 การตั้งชื่อหน่วยฯ ให้น่าสนใจต่อผู้เรียนโดยพิจารณาค�ำส�ำคัญ (Key words) หรือเนื้อหาของ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ค�ำอธิบายรายวิชา และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
       3.	 การก�ำหนดสาระส�ำคัญส�ำหรับแต่ละหน่วยฯ สาระส�ำคัญคือข้อความท่ีระบุว่าผู้เรียนรู้อะไร
มีทักษะอะไรและหน่วยนี้มีคุณค่าต่อผู้เรียนอย่างไรในระยะสั้นและระยะยาวโดยร้อยเรียงข้อมูลตัวช้ีวัดและ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64