Page 17 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 17

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 13-7

       1.6	 ประโยชน์ในการใช้ (usefulness) เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนการสอนที่ดีมีต้องเป็น
แบบทดสอบที่มีความสอดคล้องกับการปฏิบัติท่ีเก่ียวข้อง เช่นในเรื่องการเรียนการสอนซึ่งผลการทดสอบจะ
ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงการเรียนการสอน แบบทดสอบจะขาดประโยชน์ในการน�ำไปใช้
เม่ือผู้สร้างข้อสอบไม่ได้ค�ำนึงถึงความสอดคล้องของเน้ือหาแบบทดสอบกับการปฏิบัติงานของผู้เข้าสอบและ
ไม่ได้ใช้ผลของการสอบให้เป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าสอบและผู้เกี่ยวข้อง

       1.7	 ความสมจรงิ ของเครอ่ื งมอื (authenticity) เครอื่ งมือวดั และประเมนิ การเรียนการสอนทางภาษา
ควรจะมลี กั ษณะท่ีเป็นภาษาทใี่ ช้ในสถานการณ์จรงิ (authenticity) หรอื เปน็ ภาษาที่ใช้ในชวี ิตประจ�ำวนั ทเี่ ปน็
จริง ( real life language use) คือเป็นลักษณะภาษาท่ีผู้มีความสามารถทางภาษาใช้ในสถานการณ์จริง

       1.8	 การใชข้ อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากผลจากการทดสอบ (washback) เป็นการใช้ข้อมูลท่ีได้จากการทดสอบเพื่อ
น�ำไปปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน เป็นความสัมพันธ์ของการทดสอบและการเรียนรู้ซึ่งเป็นผลจาก
การสอนและการเรียนรู้ ซึ่งท้ังผู้สอน ผู้เรียนสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านการประเมินกระบวนการเรียน
การสอน ทั้งครูผู้สอนสามารถรู้วิธีการสอนและควรปรับปรุงอย่างไร ผู้เรียนเองก็สามารถรู้ว่าตนเองควรจะ
ปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างไร (Bachman, 1996; Brown, 2010; McNamara, 2000)

       กล่าวโดยสรุปแล้วการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพนั้นจ�ำเป็นต้องเลือกใช้
เคร่ืองมือที่มีคุณภาพ ซ่ึงมีองค์ประกอบหลายด้านดังกล่าวข้างต้น ผู้ประเมินจะต้องพยายามสร้างเคร่ืองมือ
วัดให้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดและคุณลักษณะต่าง ๆ ตามเป้าหมายของการเรียนรู้น้ัน ๆ ผลที่ได้
จากการวัดและประเมินจึงมีคุณค่า สามารถสะท้อนความรู้ความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรียน หากเครื่องมือ
ไม่มีมาตรฐานและไม่มีคุณภาพเพียงพอก็ท�ำให้ไม่สามารถวัดผลผู้เรียนได้ตรงตามสมรรถนะที่แท้จริงของ
ผู้เรียน

2.	 ประเภทของการวัดและประเมนิ การเรยี นรู้การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ

       เน่ืองจากการวัดและประเมินเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน กิจกรรมการวัดและการ
ประเมินท�ำให้ผู้สอนได้สารสนเทศท่ีเป็นปรนัยและเป็นพ้ืนฐานส�ำหรับการตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน ตลอดจนประโยชน์ต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพของการเรียนการสอนการวัดและการประเมินใน
กระบวนการเรยี นการสอนสามารถแบง่ เปน็ ประเภทตามขนั้ ตอนหรอื ชว่ งเวลาของการดำ� เนนิ การเรยี นการสอน
ได้ดังนี้

       2.1	 การวัดและประเมินก่อนการเรียนการสอน
       2.2	 การวัดและประเมินระหว่างการเรียนการสอน
       2.3	 การวัดและประเมินหลังสิ้นสุดการเรียนการสอน
       2.1 	การวดั และประเมนิ ผลกอ่ นการเรยี นการสอน มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ตอ้ งการทราบสภาพของผเู้ รยี น
ความรู้พื้นฐานของผู้เรียนก่อนเรียน ซ่ึงอาจด�ำเนินการได้โดยวัดผลก่อนเรียนแต่ละรายวิชา ก่อนเรียนแต่ละ
หน่วยการเรียนรู้ซ่ึงเป็นการจัดหมวดหมู่เนื้อหาในสาระการเรียนรู้ที่มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กันไว้ในหน่วย
เดียวกัน การวัดและประเมินก่อนเรียนแต่ละหน่วยนี้ก็เพื่อให้ได้ข้อมูลความรู้พื้นฐานของผู้เรียนในเร่ืองหรือ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22