Page 22 - การบริหารงานสื่อสิ่งพิมพ์
P. 22

12-12 การ​บริหาร​งาน​สื่อ​สิ่ง​พิมพ์

2. 	การ​รบั โ​ฆษณา​ใน​ส่ือ​สิ่ง​พมิ พ์

       โดย​ปกติ​หนังสือพิมพ์​และ​นิตยสาร​ต่าง ๆ ต้องการ​ให้​มี​ปริมาณ​การ​ลง​โฆษณา​ให้​มาก​ที่สุด เพราะ​หมาย​ถึง​
ราย​ได้ที่​จะ​นำ�​มาส​นับ​สนุ​นกิ​จการ​และผล​กำ�ไร​ของ​ผู้​ประกอบ​การ ขณะ​เดียวกัน​หนังสือพิมพ์​และ​นิตยสาร​ย่อม​ต้อง​มี​
จรรยาบ​ รรณใ​นก​ าร​พิจารณา​รับโ​ฆษณาม​ า​ลงใ​น​สื่อส​ ิ่ง​พิมพ์ เนื่องจาก​โฆษณาห​ ลาย ๆ ประเภท​มักเ​ป็นโ​ฆษณา​ที่​ไม่​พึง​
ปรารถนา​ของ​สังคม ดัง​นั้น​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ผู้​ประกอบ​วิชาชีพ​นี้​จำ�เป็น​ต้อง​มี​ค่อน​ข้าง​สูง แม้ว่า​หนังสือพิมพ์​และ​
นิตยสารจ​ ะ​อยู่​ได้​ด้วยค​ ่าโ​ฆษณา แต่​หนังสือพิมพ์แ​ ละน​ ิตยสาร​ก็​มีข​ อบเขต​ใน​การพ​ ิจารณาร​ ับ​ลง​โฆษณาเ​ช่นก​ ัน

       หลักก​ ารพ​ ิจารณา​รับ​โฆษณาข​ องห​ นังสือพิมพ์​และน​ ิตยสาร​สามารถแ​ ยก​ออก​เป็น 3 ประเภท คือ
       2.1	 หลกั ข​ องก​ ฎหมาย โฆษณาท​ จี​่ ะล​ งใ​นห​ นงั สอื พมิ พแ์​ ละน​ ติ ยสารน​ ัน้ จะต​ อ้ งไ​มข​่ ดั ต​ อ่ ห​ ลกั ข​ องก​ ฎหมาย เชน่
กฎหมาย​การ​คุ้มครอง​ผู้บ​ ริโภค​ ระเบียบแ​ ละ​กฎหมาย​ที่เ​กี่ยวข้อง​กับ​อาหารแ​ ละย​ า กฎหมายห​ มิ่นป​ ระมาท (กฎหมาย​
แพ่ง​และพ​ าณิชย์) ไม่​ละเมิดผ​ ู้​อื่น (กฎหมายแ​ พ่งแ​ ละพ​ าณิชย์) ไม่​หลอกล​ วง (กฎหมาย​อาญา) เป็นต้น
       2.2	 หลัก​จรรยา​บรรณ​ของ​สมาคม​โฆษณา โฆษณา​ที่​จะ​ลง​นั้น​จะ​ต้อง​ไม่​ขัด​กับ​จรรยา​บรรณ​ของ​นัก​โฆษณา
ท​ ี่​ดี​ กล่าวค​ ือ

            1) 	จะต​ ้องไ​ม่​เป็นการด​ ูห​ มิ่นศ​ าสนาห​ รือค​ วาม​เชื่อ หรือ​สิ่ง​อัน​เป็นท​ ี่​เคารพ​สัก​การ​ ะข​ องบ​ ุคคลท​ ั่วไป
            2) 	จะ​ต้อง​ไม่ท​ ำ�ให้​เกิด​ความส​ ำ�คัญ​ผิดใ​น​สาระ​สำ�คัญ​เกี่ยว​กับ​สินค้า บริการ การ​แสดงห​ รืออ​ ื่น ๆ หรือ​
โอ้อวดส​ รรพคุณจ​ น​เกินค​ วามจ​ ริง จน​ทำ�ให้ผ​ ู้​เห็นห​ รือ​ผู้​ฟัง​เกิดค​ วาม​สำ�คัญผ​ ิด
            3) 	จะ​ต้อง​ไม่​เป็นการ​โจมตี​หรือ​เปรียบ​เทียบ​สินค้า บริการ การ​แสดง​หรือ​อื่น ๆ ของ​ผู้​อื่น​อย่าง​ไม่​
ยุติธรรม โดยใ​ช้​วิธี​เปรียบ​เทียบใ​ด ๆ อันท​ ำ�ให้​ผู้เ​ห็นเ​ข้าใจ​ผิด
            4) 	จะต​ ้องไ​ม่ท​ ำ�ให้เ​กิดค​ วามก​ ลัว​โดย​ไม่มี​เหตุ​อัน​สมควร
            5) 	จะ​ต้อง​ไม่​ใช้ค​ วาม​เชื่อ​ถือเ​กี่ยว​กับ​ไสยศาสตร์ห​ รือเ​ชื่อ​โชคลาง​มาเ​ป็น​ข้อ​จูงใจ
            6)	 จะ​ต้องไ​ม่ก​ ่อใ​ห้​เกิด​การเ​หยียดห​ ยาม​กันเ​กี่ยวก​ ับ​เชื้อ​ชาติ​หรือศ​ าสนา
       2.3 	กฎ​เกณฑ์​ต่าง ๆ ของ​องค์การ​สื่อ​สิ่ง​พิมพ์ โฆษณา​ที่​จะ​ตี​พิมพ์​ต้อง​ไม่​ผิด​กฎ​เกณฑ์​ที่​แต่ละ​องค์การ​
สื่อส​ ิ่งพ​ ิมพ์ก​ ำ�หนดข​ ึ้น เช่น โฆษณาเ​พื่อนเ​ที่ยว โฆษณาห​ า​คู่ โฆษณาป​ ระกาศจ​ ับ โฆษณาด​ ูห​ มิ่นใ​ส่​ร้ายผ​ ู้อ​ ื่น โฆษณา​
พรรคการเมืองห​ รือโ​ฆษณา​ลัทธิก​ ารเมือง เป็นต้น
       การพ​ ิจารณาร​ ับโ​ฆษณาข​ องห​ นังสือพิมพแ์​ ละน​ ิตยสารแ​ ต่ละฉ​ บับน​ ั้น โดยป​ กตแิ​ ล้วเ​จ้าห​ น้าทีใ่​นแ​ ผนกโ​ฆษณา​
จะใ​ชด​้ ลุ พนิ จิ พ​ จิ ารณาว​ า่ โ​ฆษณาช​ ิน้ ใ​ดค​ วรจ​ ะน​ �ำ ​ลงห​ รอื ไ​ม่ ในก​ รณท​ี เี​่ กดิ ค​ วามไ​มแ​่ นใ่ จว​ า่ โ​ฆษณาน​ ัน้ ส​ มควรน​ �ำ ​ลงห​ รอื ไ​ม​่
เจ้าห​ น้าที่แ​ ผนกโ​ฆษณาจ​ ำ�เป็นต​ ้องป​ รึกษาบ​ รรณาธิการ ซึ่งใ​นท​ างก​ ฎหมายจ​ ะเ​ป็นผ​ ูพ้​ ิมพผ์​ ูโ้​ฆษณาซ​ ึ่งจ​ ะต​ ้องร​ ับผ​ ิดช​ อบ
ข​ ้อความ ภาพ และโ​ฆษณา ในห​ นังสือพิมพ์​และน​ ิตยสารท​ ั้ง​ฉบับ

3. 	การบ​ รหิ ารง​ านข​ าย​โฆษณา​ในส​ ่อื ส​ ่ิงพ​ มิ พ	์

       กระบวนการ​บริหาร​งาน​ขาย​โฆษณา เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่​คล้าย​กับ​การ​ขาย​สินค้า​ประเภท​ต่าง ๆ ซึ่ง​ประกอบ​
ด้วย

       3.1	 การ​รับ​สมัคร​และ​คัด​เลือก​พนักงาน​ขาย พนักงาน​ขาย​โฆษณา​นับ​เป็น​บุคคล​ที่​สำ�คัญ​ต่อ​หนังสือพิมพ์​
และนิตยสารมาก เพราะ​พนักงาน​ขาย​โฆษณา​นอกจาก​จะ​ทำ�​หน้าที่​ขาย​พื้นที่ เพื่อ​หา​โฆษณา​มา​ลง​แล้ว ยัง​ทำ�​หน้าที่​
สร้างภ​ าพล​ ักษณ์ห​ รือป​ ระชาสัมพันธ์ก​ ิจการข​ องห​ นังสือพิมพ์แ​ ละน​ ิตยสารใ​ห้ก​ ับล​ ูกค้าแ​ ละบ​ ุคคลต​ ่าง ๆ อีกด​ ้วย ดังน​ ั้น
การ​รับส​ มัครแ​ ละ​คัด​เลือก​พนักงาน​ขาย​โฆษณาท​ ี่​มี​คุณสมบัติ​ที่ด​ ี มีป​ ระสิทธิภาพ​ใน​การ​ทำ�งาน​สูง ย่อมช​ ่วยใ​ห้การ​ขาย​
โฆษณา​ของ​หนังสือพิมพ์แ​ ละ​นิตยสารน​ ั้นป​ ระสบค​ วาม​สำ�เร็จ และเ​ป็นไ​ปต​ าม​เป้าห​ มายข​ อง​องค์การ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27